Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ, สมาชิกในกลุ่ม, 1.นางสาววนัชญา ซื่อตรง…
พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ
หมวดที่ 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา 6
การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
มาตรา 7
ปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา 8
การจัดการศึกษา
1.เป็นการศึกษาตลอดชีวิต
2.สังคมมีส่วนร่วม
3.พัฒนาการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา 9
การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
1.มีเอกภาพด้านนโยบาย
2.มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา
3.มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา
4.ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา
5.ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้
ในการจัดการศึกษา
6.การมีส่วนร่วมของบุคคล
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10
การจัดการศึกษา บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน
ในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี
มาตรา 11
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือ
บุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล ได้รับการศึกษาภาคบังคับ
ตามมาตรา 17
มาตรา 12
มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจาก รัฐ
เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 13
บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
1.การสนับสนุนจากรัฐ
2.เงินอุดหนุนจากรัฐ
3.การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี
มาตรา 14
บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ตาม
ควรแก่กรณี
1.การสนับสนุนจากรัฐ
2.เงินอุดหนุนจากรัฐ
3.การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี
หมวด 3 ระบบการศึกษา
มาตรา 15
การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา 16
การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 17
ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ
มาตรา 18
การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้จัดในสถานศึกษา ดังต่อไปนี
1.สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
2.โรงเรียน
3.ศูนย์การเรียน
มาตรา 19
การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบันวิทยาลัย ให้เป็นไปตามกฎหมายเกี่ยวกับ
สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา กฎหมายว่าด้วยการ
จัดตั้งสถานศึกษานั้น ๆ
มาตรา 20
การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษาและกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 21
กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐอาจจัดการศึกษา ตามความต้องการและความชำนาญของหน่วยงานนั้น โดยคำนึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคน
มีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้
มาตรา 23
การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษนอกระบบ และการศึกษำตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญ
ทั้งความรู้ คุณธรรม
มาตรา 24
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังต่อไปนี้
1.จัดเนื้อหาสาระ
2.ฝึกทักษะ
3.จัดกิจกรรม
4.จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสาน
5.ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ
6.จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
มาตรา 25
รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและ
การจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรา 26
สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดย
พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน
มาตรา 27
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเป็นไทย
ความเป็นพลเมืองที่ดีของชำติ
มาตรา 28
สาระของหลักสูตร ทั้งที่เป็นวิชาการ และวิชาชีพ
ต้องมุ่งพัฒนคนให้มีควมสมดุล ทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม
มาตรา 29
ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพื่อพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
มาตรา 30
ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอน ที่มี
ประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัย
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละ
ระดับการศึกษา
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 1
การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตรา 31
กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท
มาตรา 32
การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการ
จำนวนสามองค์กร
มาตรา 33
สภาการศึกษา
มาตรา 34
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มาตรา 35
องค์ประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา 34
มาตรา 36
ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล และอาจจัดเป็นส่วนราชการหรือเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐ ยกเว้นสถานศึกษาเฉพาะทางตาม
มาตรา 21
มาตรา 37
การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 38
ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่
ในการกำกับดูแล
มาตรา 39
ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการ
ศึกษา ด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล
และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการและสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่
การศึกษาโดยตรง
มาตรา 40
ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ทำหน้ำที่กำกับและส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
ส่วนที่ 2
การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 41
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่ง หรือทุกระดับตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถิ่น
มาตรา 42
ให้กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 3
การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
มาตรา 43
การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็นอิสระ
มาตรา 44
ให้สถานศึกษาเอกชนเป็นนิติบุคคล และมี
คณะกรรมการบริหาร
มาตรา 45
ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท การศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด
มาตรา 46
รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือการยกเว้นภาษี และสิทธิประโยชน์อย่างอื่น
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47
ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 48
ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรา 49
ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
มีฐานะเป็นองค์กำรมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์
มาตรา 50
ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา
มาตรา 51
ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตาม
มาตรฐานที่กำหนดให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณ
ภาพการศึกษา จัดทำข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไข
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 51
คำว่า “คณาจารย์” ให้หมายความว่า บุคลากรซึ่งทำ
หน้าที่หลักทางด้านการสอน
มาตรา 52
ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสม
มาตรา 53
ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ
มาตรา 54
ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้งของหน่วยงานทางการศึกษา
ในระดับสถานศึกษาของรัฐ เป็นข้าราชการในสังกัดองค์กร
กลงบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
มาตรา 55
ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิ
ประโยชน์เกื้อกูลอื่น สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสังคมและวิชาชีพ
มาตรา 56
การผลิตและพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษำ
ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษา
แต่ละแห่งและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 57
ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชน
ให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยนำประสบการณ์ ความรอบรู้ ความชำนำญ และภูมิปัญญาท้องถิ่นของบุคคล
ดังกล่าวมำใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากรเเละการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา 58
ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ
การเงิน และทรัพย์สิน
มาตรา 59
ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษาใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา
มาตรา 60
ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา ในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุด ต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
โดยจัดสรรเป็นเงินงบประมำาณเพื่อการศึกษา
มาตรา 61
ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคม
อื่นตามความเหมาะสมและความจำเป็น
มาตรา 62
ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมำณ การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 63
รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้าง
พื้นฐานอื่น เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษา
มาตรา 64
รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนา
แบบเรียน ตำรา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น
วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษอื่น
มาตรา 65
ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการผลิต
มาตรา 66
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการ
ใช้เทคโนโลยี เพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้
เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอ
มาตรา 67
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและ
การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 68
ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยี
เพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ
มาตรา 69
รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณา
เสนอนโยบาย แผนส่งเสริมและประสานการวิจัย
การพัฒนาและการใช้
มาตรา 70
บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ
และคำสั่งเกี่ยวกับการศึกษา และสถานศึกษาที่มีอยู่
ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับยังคงมีฐานะ
และอำนาจหน้าที่เช่นเดิม
มาตรา 71
ให้กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานการศึกษา และสถานศึกษาที่มีอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับยังคงมีฐานะและอำนาจหน้าที่เช่นเดิม
มาตรา 72
ในวาระเริ่มแรก มิให้นำบทบัญญัติ มาตรา 10 วรรคหนึ่ง และมาตรา 17 มาใช้บังคับ จนกว่ำจะมีการดำเนินการ
ให้เป็นไปตามบทบัญญัติดังกล่าว ซึ่งต้องไม่เกินห้าปี
นับแต่วันที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยใช้บังคับ
มาตรา 73
ในวาระเริ่มแรก มิให้นำบทบัญญัติในหมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา และหมวด ๗ ครู คณาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษา มาใช้บังคับจนกว่าจะได้มีการ
ดำเนินการให้เป็นไปตามบทบัญญัติในหมวดดังกล่ำว
มาตรา 74
ในวาระเริ่มแรกที่การจัดตั้งกระทรวงยังไม่แล้วเสร็จ ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย รักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้
มาตรา 75
ให้จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปการศึกษา ซึ่งเป็นองค์การ
มหาชนเฉพาะกิจ
มาตรา 76
ให้มีคณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษาจำนวนเก้าคน ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการ
มาตรา 77
ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษาคณะหนึ่งจำนวนสิบห้าคน
มาตรา 78
ให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกา
จัดตั้งสำนักงานปฏิรูปการศึกษา และมีอำนาจกำกับดูแลกิจการของสำนักงาน
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาววนัชญา ซื่อตรง 664110015
2.นางสาวสุไรดา หัดขะเจ 664110019
3.นายกิตติวงศ์ วิเศษ 664110021