Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคมือ เท้า ปาก
การแพร่กระจาย
เชื้อ Entero virus ติดจากอุจจาระ ละอองน้ำมูก น้ำลาย
อาการและอาการแสดง
มีไข้สูง 1-2 วันแรก / มีจุกแดงอักเสบในปาก
เกิดผื่นแดงและตุ่มใส บริเวณนิ้วมือ ฝ่าเท้า ก้น
การดูแล รักษา และป้องกัน
ป้องกันโดยรักษาอนามัยส่วนบุคคลที่ดี
แยกเด็กป่วย เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ
รักษาตัวที่บ้าน 5-7 วันหรือจนหายเป็นปกติ
วัณโรค
การแพร่กระจาย
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis ติดทางการไอ จาม หายใจรดกัน เสมหะ
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดหัว หายใจหอบข้อบวม
การดูแล รักษา ป้องกัน
ให้ยาเพื่อทำลายเชื้ออย่างต่อเนื่อง
ฉีดวัคซีน BCG แรกเกิด
ป้องกันเชื้อดื้อยา ดูแลให้ได้รับยาครบทุกชนิด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
หัด
อาการและอาการแสดง
เยื่อบุตาอักเสบ (กลัวแสง) / มีไข้ 3-5 วัน
พบตุ่มขาวขอบแดง บริเวณกระพุ้งแก้ม
การดูแล รักษา และป้องกัน
ฉีดวัคซีน MMR เมื่ออายุ 9-12 เดือน
เช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำอุ่น ให้ยาลดไข้ ยากันชัก
ดูแลลโดยใช้หลัก Airborne precaution
การแพร่กระจาย
เชื้อ Measles virus แพร่กระจายอยู่ในอากาศ
โรคสุกใส
การแพร่กระจาย
เชื้อ Varicella Zoster ติดจาก การแพร่กระจายของละอองฝอยน้ำมูก และลำคอ
อาการและอาการแสดง
ผื่นพร้อมไข้ มีเม็ดใสนูนแดงอยู่รอบๆ
มีอาการคัน ในระยะที่เป็นตุ่มน้ำ
การดูแล รักษา ป้องกัน
ไม่แนะนำให้ฉีดวัคซีนในเด็ก
วัคซีนฉีดใน้ด็กที่มีอายุ 1 ปีขึ้นไปและไม่เคยเป็นโรคสุกใส
ป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำซ้อนที่ผิวหนัง
โรคคางทูม
การแพร่กระจาย
เชื้อ Mump Virus
ติดต่อได้จากการไอจามหรือหายใจรดกัน
อาการ
ต่อมน้ำลายหน้าหูจะบวมโตและกดเจ็บ
ไข้ ปวดศีรษะต่อมาจะปวดบริเวณขากรรไกร
การดูแล
ดูแลให้ได้รับประทานให้เพียงพอ/การพักผ่อน/ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
สังเกตอาการอักเสบตามร่างกาย เช่น อัณฑะ
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ในปัจจุบันยังไม่มียารักษาโรคคางทูม
สามารถป้องกันโดยการรับ MMR/ Rubella vaccine 2 ครั้ง โดยครั้งแรกตอนอายุ 9-12 เดือน และครั้งที่ 2 ตอนอายุ 3-6 ปี
การรักษา:ใช้ยาพาราเซตามอล หรือไอบูโพรเฟน ผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปีไม่ควรใช้ยาแอสไพริน
ยาพาราเซตามอล: ใช้ในปริมาณ 10-15 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัวเด็ก 1 กิโลกรัม ทานได้ทุก 4-6 ชั่วโมง หรือ เมื่อมีอาการ
ไอบูโพรเฟน:ใช้ในปริมาณ 5-10 มิลลิกรัม/น้ำหนัก1กิโลกรัม ทุก 6-8 ชั่วโมง ไม่เกิน 4 ครั้ง/วัน
โรคเอดส์ในเด็ก
(Acquired Immune Deficiency Syndrome/ AIDS)
การแพร่กระจาย
มารดาสู่ทารกขณะตั้งครรภ์
หลังคลอดทางน้ำนมมารดา
การป้องกัน การรักษา และการดูแล
ปิดปากเวลาไอ จาม/ล้างมือให้สะอาด/หลีกเลี่ยงการใช้ยาเอง
พักผ่อนให้เพียงพอ/ทานอาหารที่มีประโยชน์/ทานยาตามแผนการรักษา
ทานยาต้านไวรัส/ยากระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน/ยารักษาตามอาการ
อาการ
อาการหลัก
น้ำหนักลด/ถ่ายเหลว 2 ครั้งขึ้นไปต่อวัน นานมากกว่า 1 เดือน
ไข้เรื้อรัง/ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนล่างที่รุนแรงมาก
อาการรอง
ต่อมน้ำเหลืองโต/เชื้อราในปาก
ไอเรื้อรัง/ผื่น/ติดเชื้อที่ไม่รุนแรงซ้ำๆ
ผื่นอักเสบชนิด
Impetigo Contagiosa
อาการ
ช่วงแรกจะมีลักษณะแดงๆ ต่อมาจะกลายเป็นตุ่มน้ำและ หนอง
ต่อมาจะเริ่มเป็นสะเก็ดน้ำตาล เกาะแน่น ซึ่งบริเวณที่เป็นโรคได้บ่อย ได้แก่ แก้ม คาง หู จมูก แขน ขา
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ:ภาวะไตอักเสบเฉียบพลัน
(Acute Glomerulonephritis)
สาเหตุ:เชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus
Beta Hemolytic Streptococcus
COVID-19
การแพร่กระจาย
รับละอองฝอยจากการไอจาม
มือสัมผัสเชื้อแล้วมาจับตา จมูก ปาก
การป้องกัน การรักษา และการดูแล
การป้องกันโดยการ สวมหน้ากากอนามัย/ล้างมือ/หลีกเลี่ยงการไปพื่นที่แออัด
การดูแล
เมื่อมีไข้ ทานยาลดไข้ เช็ดตัว ระวังไม่ให้ไข้สูงและชัก
เมื่อมีอาการไอ ทานยาแก้ไขละลายเสมหะ ลมน้ำมูก
ในกรณีผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง อาจจะต้องให้ออกซิเจนในการช่วยเหลือ พ่นยาละลายเสมหะเมื่อจำเป็น
ฉีดวัคซีนป้องกันโควิดโดยเข็มแรกแนะนำเป็น mRNA
อาการ
ไข้/ไอ/เจ็บคอ
อ่อนเพลีย/เบื่ออาหาร/คัดจมูก
ผื่นผ้าอ้อม (Diaper rash)
สาเหตุ
การใช้ผ้าอ้อมที่เปียกในเวลานาน
สุขอนามัยไม่ดี/การใช้สบู่ ผงซักฟอกชนิดแรงหรือล้างไม่หมด
การป้องกัน การรักษา และการดูแล
ให้ยา Amoxicillin/ใช้ครีมบำรุงผิวให้ผิดนุ่ม/ล้างบริเวณผื่นด้วยน้ำสบู่อ่อนๆ/ใช้ยาสเตอรอยด์ชนิดอ่อนๆ
ควรเปิดบริเวณก้น ไม่ใช้ผ้าอ้อมสำเร็จรูป/ตัดเล็บเด็กให้สั้น
อาการ:ป็นผื่นหรือตุ่มสีแดง อาจมีตุ่มน้ำ ขุย หรือตุ่มหนองร่วมด้วย เมื่อตุ่มหนองแตกแผลจะลุกลาม หนองไหลเยิ้ม
โรคไข้เลือดออก
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงลอย 1-3 วันแรก
ช๊อกและมีเลือดออก ปวดท้อง อาเจียน
มีจุดเลือดออกตามร่างกาย
การแพร่กระจาย
เชื้อ Dengue virus จากการถูกยุงลายที่ป็นพาหะกัด
การรักษา ดูแล ป้องกัน
ให้ยาลดไข้ (ห้ามให้แอสไพริน) ให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำ
ทำลายแหล่งเพาะยุง
งดทำหัถตการ เช่น การถอนฟัน
โรคหัดเยอรมัน(Rubella/German Measles)
การแพร่กระจาย
เสมหะ/น้ำลาย/เลือด/อุจจาระ/ปัสสาวะ
ระยะติดต่อ:ฟักตัว 16-18 วัน แพร่เชื้อได้นาน 1 ปี
อาการ
ไข้ต่ำๆ/ปวดศีรษะ/ปวดเมื่อยตามตัว/เบื่ออาหาร/ไอ เจ็บคอ
ผื่นขึ้น 1-5 วัน
การป้องกัน การรักษา และการดูแล
ฉีดวัคซีน MMR/Rubella vaccine (9-12 เดือน)
ดูแลโดยใช้หลัก Airborne precaution,แยกผู้ป่วย 4-5 วันหลังผื่นขึ้น
รักษาแบบประคับประคองอาการ
ดูแลความสะอาดบริเวณที่ผื่นขึ้น เช็ดตัวด้วยน้ำอุ่น ซับให้แห้ง
ทาคาลาไมล์โลชั่น/รับประทานยา Antihistamine ตามแผนการรักษา และตัดเล็บมือให้สั้น