Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Fever (Pyrexia) and Hyperthermia, ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, คือ ไข้เป็นพัก ๆ…
Fever (Pyrexia) and Hyperthermia
Fever with rash
🔎 Measles/ หัด
อาการ
ผื่นขึ้นพร้อมกับไข้ หรือไข้ออกผื่น ผื่นแรกเริ่มที่ไรผม ลงมาตามลำตัว คัน
ไข้สูง, ไอ, น้ำมูกไหล, ตาแดง แฉะ, มีจุดขาว ๆ ในปาก, ผื่นแตก
การป้องกัน
MMRV Vaccine
Hygiene
🔎Roseola infantum/ ผื่นกุหลาบ
อาการ
มีผื่นขึ้นเมื่อไข้ลงแล้ว จะไม่มาพร้อมไข้
🔎Varicella (Chickenpox)
อาการ
ผื่นขึ้น บริเวณลำตัวก่อน แบบเม็ดใส ๆ >> ค่อยๆ ขุ่น คัน
สามารถกลายเป็นโรคงูสวัด ได้ในอนาคตเมื่อร่างกายอ่อนแอ เนื่องจากเชื้อเข้าไปแอบอยู่ในปมประสาทที่ระบบภูมิคุ้มกันเข้าไปไม่ถึง
🔎Rubella /หัดเยอรมัน
อาการ
ผื่นจะเนียน ๆ สวย ๆ ไม่คัน ไข้ อันตรายในหญิงตั้งครรภ์ จะทำให้ทารกพิการ
🔎Hand Foot Mouth
มีผื่นขึ้นที่มือ เท้า หรือในปาก เจอมากในเด็กเล็ก ไม่มีวัคซีนป้องกัน ีอาการไข้ อาเจียน
🔎ไข้เลือดออก
จุดเลือดออกใต้ผิวหนัง/ pathechial
อาการ
Febrile phase
มีไข้, ปวดศีรษะ, อาจมีเลือดออกตามไรฟัน/เลือดกำเดา, ปวดข้อ กล้ามเนื้อ, อาเจียน มีจุดเลือดออก, ท้องเดิน
Critical phase
หรือระยะช็อก จะเริ่มเมื่อไข้เริ่มลดลง อาจทำให้ความดันโลหิตต่ำ/ BP drop, pleural effusion ascites GI bleed
Recovery phase
ระดับความรู้สึกตัวเริ่มดีขึ้น อาจมีอาการชักได้ มีผื่นคันขึ้นตามตัว ใจเต้นช้าลง
ข้อห้าม
Aspirin
การรักษา
ดื่มน้ำมาก ๆ , ORS, หากปวดท้อง ซึมลง มือเท้าเย็น ไข้ลด ให้นำส่งรพ.ทันที ณ รพ.สต. อาจดูแลเบื้องต้นในระยะไข้ ควรส่งต่อก่อนจะช็อก
:fire:ตัด
Mode of transmission
🔎Chilungunya
อาการ
ไข้สูงเฉียบพลัน, ปวดกล้ามเนื้อ, ผื่นแดงตามร่างกาย, ตาแดง,
ปวดข้อ
เช่น ข้อมือ เท้า ศอก เข่า
การเกิดโรค
Agent : ยุงลายบ้าน/สวน
:fire:ตัด
Mode of transmission
🔎Scrub Typhus
มีไข้ มี
จุดผื่นคล้ายบุหรี่จี้
อาจมีอาการร่วมอื่น เช่น ต่อมน้ำเหลืองโต
เกิดจาก ตัว ไร กัด อยู่ตามแพะ กระรอก
🔎Zika virus
อาการ; ปวดหัว ไข้กลาง ๆ เมื่อยล้า ปวดข้อ ตาแดง ผื่นแดง
อันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์ ทำให้ทารกมีภาวะ Microcephaly /สมองเล็ก
🔎Monkey pox
อาการ
ไข้สูง, หนาวสั่น, ไอ เจ็บคอ, ต่อมน้ำเหลืองโต, ปวดหัว, ปวดหลัง, หายใจสั้น ๆ ,รู้สึกเหนื่อยหอบ
การป้องกัน
ล้างมือ, แยกตัว, ใส่แมสก์, ป้องกันเมื่อมีการไอ จาม
Fever ร่วมกับ cough, or sore throat
:silhouette:Coronavirus
อาการ
ไข้, ปวดหัว, ไอ, ปอดอักเสบ, อาจนอนราบไม่ได้, น้ำมูกไหล, เจ็บหน้าอก
การป้องกัน
ล้างมือ, แยกตัว, ใส่แมสก์, ป้องกันเมื่อมีการไอ จาม
:silhouette: Tonsilitis
มีอาการเจ็บคอ ต่อมทอนซิลโต มีจุดหนอง เจ็บคอ กลืนลำบาก กลืนแล้วเจ็บ
:silhouette: Bronchitis
อาการ
ไข้สุงกว่า 40 °C, ไอ, น้ำมูกไหล, เจ็บคอมาก, N/V, อาจมีไอปนเลือดและเสมหะ, Wheezing, นอนไม่ได้
:silhouette: Tuberculosis
อาการ
ไอเรื้อรัง, ไข้เรื้อรัง ต่ำ ๆ ช่วงหัวค่ำ, เจ็บหน้าอก ไอเป็นเลือด, หนาวสั่น, อ่อนล้า, เหงื่อออกตอนลางคืน, น้ำหนักลด
Fever with chill
:star: Flu
อาการ
ไข้สูงกว่า common cold, ปวดตัวมาก เพลีย กินไม่ได้, ขาดน้ำ
:star: Dangue Fever
:star: Malaria
อาการ
อาการจับไข้ 3 ระยะ
ระยะหนาวสั่น
อุณหภูมิกายลดลง
ระยะร้อน
ไข้สูงถึง 40 °C หน้าแดง คลื่นไส้ อาเจียน
ประมาณ 2-6 ชม.
ระยะเหงื่อออก
ไข้ลด เหงื่อออกทั้งตัว
อาการคล้ายหวัด
มีไข้ต่ำ ๆ ปวดศีรษะ เมื่อตามตัว N/V
อาจเป็นสั้น ๆ เป็นวัน หรือหลายวัน ขึ้นอยู่กับระยะการฟักตัวของเชื้อ ชนิดของเชื้อ
โรคนำโดยยุง
:star: pyelonephritis/
กรวยไตอักเสบ
อาการ
ไข้, ปวดที่เอว, urgency of urination, อาเจียน
:star: Leptospirosis
อาการ
มีไข้เฉียบพลัน, ปวดศีรษะ, เมื่อยตามตัว
ปวด โดยเฉพาะน่องและขา
, คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ตาแดง
การติดต่อ
ทางตรง
สัมผัสกับปัสสาวะ หรืออวัยวะของสัตว์ที่มีเชื้อ
เช่น หนู กระรอก หมา แมว
ทางอ้อม
สัมผัสกับน้ำ หรือดินที่ปนเปื้้อนเชื้อ
ซึมเข้าทางผิวหนังที่มีบาดแผล
สาเหตุของไข้
Infection
Rabies
Tetanus
Malaria
Chikungunya
Scrub Typhus
Leptospirosis
Meliodiosis
Mumps
Measles & Rubella
Chicken pox
Inflammation
Fever of Unknown Origin (FUO).
Definition of Terms
normothermia หรือ euthermia
ระดับอุณหภูมิที่ขึ้นอยู่กับสถานที่ เวลา และ ระดับกิจกรรมที่ปฏิบัติ ของการวัดอุณหภูมิของร่างกาย
pyrexia
อูณหภูมิของร่างกายที่เพิ่มขึ้นจากปกติ สาเหตุจากติดเชื้อหรืออักเสบ หรือเรียกว่า "ไข้/ Fever" หรือ "Febrile response"
Hyperthermia
การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิร่างกาย จากการปรับอุณหภูมิชดเชยไม่ได้ (failed thermoregulation) เกิดจากร่างกายรับความร้อนมากเกินไป
Heat Stroke
คือภาวะอุณหภูมิกายสูงรุนแรง /severe hyperthermia จากการปรับไม่ได้ ผลจากการเผาผลาญมากเกินไป เช่น ออกกำลังหาย สภาพแวดล้อมร้อนจัด หรือกรณีที่สูญเสียการระบายความร้อน เป็นภาวะไม่ปกติ
Hypothermia
ภาวะผิดปกติ ที่ร่างกายอุณหภูมิต่ำมากกว่าระดับที่ปลอดภัย อาจเกิดจากสภาพแวดล้อม ภาวะแทรกซ้อนของระบบเผาผลาญ ระยะของโรคบางโรค หรือจากยา
Low temperature
ร่างกายอุณหภูมิต่ำกว่าปกติ จากการสูญเสียความร้อนอย่างไวกว่าการผลิตความร้อนในร่างกาย
Definition ไข้/ Fever
อาการที่พบทั่วไปที่พบเมื่อมีการติดเชื้อในร่างกาย
เป็นภาวะผิดปกติ แต่ไม่ใช่โรค
รากศัพท์
Greek
The fire
"Fabris"
Latin
Warm or Heat
เมื่ออุณหภูมิกาย
ในแต่ละช่วงเวลา
Mid-morning
is 36.7°C
(36 - 37.4 °C)
Variation 0.5 - 1 °C
Fever of Unknown Origin (FUO).
อุณหภูมิกายมากกว่า 38.3 °C
duration มากกว่าหรือเท่ากับ 3 weeks
Morning
มากกว่า 37.2 °C
Evening
มากกว่า 37.7 °C
มากกว่าหรือเท่ากับ 37.8 °C
เมื่อวัดทางปาก
ได้ทุกเวลาไม่ว่าจะกลางวันหรือกลางคืน
มากกว่าหรือเท่ากับ 38.3 °C
เมื่อวัดทางทวารหนัก
มากกว่าหรือเท่ากับ 37.5 °C หรือ 37.8 °C หรือ 38.0 °C
เมื่อวัดทางรักแร้
Temperature
ค่าปกติ
วัดทางปาก/oral
36.0 - 37.7 °C
ค่าเฉลี่ย
36.8 +- 0.4 °C
= 36.4 - 37.2 °C
ผู้หญิง มีอุณหภูมิสูงกว่าผู้ชายเล็กน้อย
36.9 °C VS 36.7°C
Female VS Male
can depending on
• age
• sex
• physiological activity
• menstrual cycle phases
• food intake
• circadian oscillations
• anatomic site of measurement, and
• environmental temperature
ช่วงเวลาที่อุญหภูมิกาย
สูงสุด
19.00 น.
ต่ำสุด
4.30 น.
ระดับของอุณหภูมิ
Normal
36.3 -37.4 °C
Fever
37.5 - 38.9 °C
High Fever
มากกว่า 39.0 °C
Type of Fever
Based on Duration of Fever
Acute
น้อยกว่า 7 วัน
Malaria
Viral infection
Subacute
ประมาณ 2 weeks
Typhoid fever
Chronic
มากกว่า 2 weeks
Tubuculosis
Based on Height of Temperature
Mild grade
38.0 - 39 °C
Moderate grade
39 - 40 °C
High grade
40.0 - 41.1 °C
Hyperpyrexia
มากกว่า 41.1 °C
แบ่งตามช่วงเวลาป่วย
• Intermittent fever:
malaria, septicemia, abscesses
ไข้จะ สลับระหว่างอุณหภูมิปกติและระดับไข้ตลอดทั้งวัน
• Remittent fever:
infective endocarditis, Flu, Scrub typhus
ไข้อาจมาๆ หายๆ อุณหภูมิขึ้นๆ ลงๆ แต่ถึงมันจะตก ก็ไม่เคยตกเลยค่าปกติ/ ไม่กลับสู่อุณหภูมิปกติ
• Hectic or Septic fever:
Kawasaki disease, pyogenic infections
มีไข้เป็นพักๆ หรือเป็นๆ หายๆ ตลอดวัน ช่วงอุณหภูมิต่ำสุด-สูงสุด ห่างกัน 0.4 °C
• Continuous fever:
DF/DHF, measles, pneumonia, urinary tract infection (UTI), typhoid fever, drug fever
Sustained, ไข้ตลอด กินยาไข้ก็ไม่ลงมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเลย
• Relapsing:
UTI, malaria, Hodgkin lymphoma, TB
ขึ้นอยู่กับช่องทางที่วัดไข้
แนวทางการประเมินคนไข้
การซักประวัติ
Time onset เวลาเริ่มมีไข้
การใช้ยา
กาารเลี่ยงสัตว์
คนไข้ที่ติดต่อด้วย
การติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การเดินทาง ท่องเที่ยว
การบาดเจ็บ/ trauma
การใส่อุปกรณ์ในร่างกาย เช่น ข้อเทียม
หาสาเหตุของไข่
อายุ
โรคประจำตัว
การทำงานของ ตับ ม้าม
การได้ยาทาง IV
การมี HIV infection
Malignancy
organ transplantation
chemotherapy
การตรวจร่างกาย
ดู ฟัง คลำ เคาะ
Head to toe
Vital sign
ข้อสังเกต
skin
neurologic evaluation
Temperature–pulse
Bradycardia >> typhoid
LAB
เบื้องต้น
CBC, BUN Cr, LFT, ESR, UA, UC, Skin test
อาการและอาการแสดงของไข้
น้ำมูกไหล, เจ็บคอ, ปวดข้อ, ปวดกล้ามเนื้อ, เจ็บตา, ปาดแห้ง, N/V, ใจเต้นเร็ว, มึนศีรษะ, หนาวสั่น, ผิวซีด, เหงื่อออก, อ้อนล้า, ติดเชื้อแบคททีเรีย
พยาธิสภาพของไข้
agent/ pathogen
Immune Activated
Endogenous pyrogen
stimulation
Hypothalamus
Fever
การทำให้ Immune แข็งแรง
นอนเพียงพอ 6- 8 ชม.
กินวิตามินซี
ทำร่างกายให้อบอุ่น
กินให้พอ นอนให้พอ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
การดูแลรักษา
การรักษาตามสาเหตุ
ทำให้สุขสบายมากขึ้น
อาหารอ่อน ๆ, น้ำหวาน น้ำผลไม้ ORS, เช็ดตัว
การลดอุณหภูมิกาย
tepid sponge, ดื่มน้ำมาก ๆ, พัก, ทำให้ตัวเย็นลง, ยา เช่น paracetamol
การจัดการอาการไข้
หลีกเลี่ยง Aspirin, IV fluid if needed
แนะนำรับประทานอาหาร นำ้ให้พอ ขนม ซุป ข้าว, อาบน้ำอุ่น/น้ำอุณหภูมิห้อง, ผ้าเช็ดตัววางที่ข้อมือ หน้าผาก
ดูแลความกังวลของพ่อแม่
ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
คือ ไข้เป็นพัก ๆ ชนิดหนึ่ง ไข้สูงอีกครั้งหลังจากลงไปหลายวัน หรือหลายวีค มักเกิดกับสัตว์กัดต่อยและโรคต่างๆ เช่น มาลาเรีย
Ex. ไข้ทุก 3-4 วัน
หัวข้อ 3 Fever
โดย นางสาวจันทกานติ์ 6310410023 ตอน 01