Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Basic Medical Care & Rational Drug Use, นางสาวชนกนันท์ บุญเดช รหัส…
Basic Medical Care & Rational Drug Use
BMC
การรักษาโรคเบื้องต้น
กระบวนการประเมินภาวะสุขภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะการเจ็บป่วยหรือภาวะวิกฤต
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
วินิจฉัยแยกโรค
รักษาโรคและการบาดเจ็บ
ป้องกันโรค
การปฐมพยาบาล
RDU
:red_flag: ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพ ในขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสมและค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อยที่สุด
หลัก PLEASE
Pharmacy and Therapeutics Committee (PTC) Strengthening การสร้างความเข้มแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด
Labeling and Leaflet for Patient Information การจัดทาฉลากยา ฉลากยาเสริม และข้อมูลยาสู่ประชาชน
ยานี้คือยาอะไร ข้อควรรู้ก่อนใช้ยา วิธีใช้ยา ข้อควรปฏิบัติระหว่างใช้ยา อันตรายที่อาจเกิดจากยา และการเก็บรักษายานี้
Essential RDU Tools การจัดทำหรือจัดหาเครื่องมือจำเป็นที่ช่วยให้เกิดการสั่งใช้ยา อย่างสมเหตุผล
Awareness for RDU Principles among Health Personnel and Patients การสร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับ บริการ ต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
Special Population Care การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ
1) ผู้สูงอายุ
2) สตรีตั้งครรภ์
3) สตรีให้นมบุตร
4) ผู้ป่วยเด็ก
5) ผู้ป่วยโรคตับ
6) ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
Ethics in Prescription การส่งเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทย์ ในการสั่งใช้ยา
ใช้ยา 5 ถูก
ถูกวิธี
กิน ฉีด ทา พ่น หยอด เหน็บ
ถูกคน
ใคร/เพศ/อายุ
ถูกเวลา
ก่อนอาหาร = 1/2 - 1 ชม. ; cloxacillin
หลังอาหาร = 15-30 นาที
หลังอาหารทันที ; aspirin ibuprofen mefenamic acid
ก่อนนอน = 15-30 นาที
เมื่อมีอาการ ; ยาแก้ปวด ทุก 4-6 ชม.
ระหว่างมื้อ = ก่อน/หลังอาหาร 2 ชม. ; ยาลดกรด
:warning: ยาที่ต้องกินให้ครบระยะเวลา ; ATB ยาคุมกำเนิด
ถูกโรค
ถูกขนาด
1 ช้อนชา ~ 5 มล.
1 ออนซ์ ~ 30 มล.
1 ช้อนโต๊ะ ~ 15 มล.
1 เกรน ~ 60 มล.
1 แก้วธรรมดา ~ 250 มล.
พยาบาลเวชปฏิบัติ (Nurse Practitioner )
การรักษาโรคเบื้องต้น&
การให้ภูมิคุ้มกันโรค
ผู้มีสิทธิ = ผ่านหลักสูตร ที่สภาการพยาบาลกำหนด + ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้ผ่านการอบรม
ข้อบังคับสภาการพยาบาล
หมวด 1 – บทท่ัวไป
Critical illness“การเจ็บป่วยวิกฤต”
First Aid“การปฐมพยาบาล”
Immunization “การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค”
หมวด 2 – การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
ข้อ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง กระทำการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
Assessment
Environmental Management
Health Education and Counselling
ปฏิบัติการพยาบาล ตามแผนการพยาบาลและ/หรือแผนการรักษาของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ให้การพยาบาลที่บ้านและการส่งเสริมความสามารถของบุคคล ครอบครัว และชุมชน
ข้อ 6 จะให้ยาผู้รับบริการได้เฉพาะที่ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ซึ่งเป็นผู้บาบัดโรคได้ระบุไว้ในแผนการรักษา หรือ
เมื่อเป็นการรักษาโรคเบื้องต้น หรือการปฐมพยาบาล
ห้ามให้ยา หรือสารละลายในช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง หรือช่องไขสันหลัง หรือ สายสวนทางหลอดเลือดดา ส่วนกลาง
ห้ามมิให้ยา Diclofenac ชนิดฉีด เนื่องจากยา Diclofenac ชนิดฉีด เป็นยาแก้ปวดในกลุ่มยาต้านอักเสบชนิดไม่มีสเตียรอยด์
ข้อ 9 กระทำการพยาบาล โดยการทำหัตถการตามขอบเขตที่กำหนด
ทำแผล ตกแต่งแผล เย็บแผล ขนาดลึกไม่เกินชั้นเนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนัง (ไม่เกิน 1นิ้ว) :forbidden:และไม่อยู่ตำแหน่งที่อันตราย โดยใช้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ดูแลรักษาบาดแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก หรือสารเคมีไม่เกินระดับ 2 ของแผลไหม้
การผ่าตัดเอาส่ิงแปลกปลอม การผ่าฝี การผ่าตัดตาปลา การเลาะก้อนใต้ผิวหนังในบริเวณตำแหน่งซึ่งไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะท่ีสำคัญของร่างกาย (เช่น รักแร้ ขาหนีบ) โดยใช้ยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง/ฉีดยาชาเฉพาะที่
การถอดเล็บ การจี้หูดหรือจี้ตาปลา โดยใช้ยาระงับความรู้สึกทาง ผิวหนัง/ฉีดยาชาเฉพาะท่ี
Administration of IVF ตามแผนการรักษา
ให้ยา ทางปาก ทางผิวหนัง ทางหลอดเลือดดำ /ช่องทางอื่น ๆ ตามแผนการรักษา
Blood Transfusion ตามแผนการรักษา
Clear airway – Suction
Cardio pulmonary resuscitation
Insert NG tube – Gastric lavage ตามแผนการรักษา
หมวด 4 การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
ส่วนที่ 5 Immunization แก่มารดา ทารก และเด็ก
หมวด 3
การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพไทย
แบ่งได้หลายระดับตามความยากและซับซ้อนของปัญหาสุขภาพ
ดูแลได้ทุกช่วงวัย ตั้งแต่สุขภาพดี เจ็บป่วย หรือมีความเสี่ยง
บริการด้านสุขภาพ ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ
มีความรู้&ทักษะพยาบาล (ที่อัปเดตอยู่เสมอ)
ส่งเสริม ป้องกัน ดูแล รักษา
ทักษะการดูแลผู้ป่วยวิกฤติ/ฉุกเฉิน และผดุงครรภ์
พัฒนา ปรับปรุงทักษะความรู้จากประสบการณ์การเรียนรู้แต่ละองค์กร
สิทธิของผู้ป่วย
มีสิทธิขั้นพื้นฐานที่จะได้รับการรักษาพยาบาลและการดูแลด้านสุขภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ
มีสิทธิได้รับข้อมูลที่เป็นจริง/เพียงพอ ในการให้ตัดสินใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอม เว้นกรณีฉุกเฉินที่จำเป็นเร่งด่วนและเป็นอันตรายต่อชีวิต
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิตมีสิทธิได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันที
ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับทราบชื่อ สกุล และวิชาชีพของผู้ให้การรักษาพยาบาล
มีสิทธิขอเปลี่ยนผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ/สถานพยาบาลได้
มีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง เว้นแต่ยินยอม/เป็นประโยชน์ต่อการรักษาและต่อทางกฎหมาย
มีสิทธิได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจเข้าร่วม/ถอนตัวในงานวิจัยด้านสุขภาพ
มีสิทธิได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียน
บิดา มารดา/ผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทน กรณีอายุยังไม่เกิน18 ปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต
หลักการซักประวัติ
Physical exam
Laboratory investigation
Hematology
Blood chemistry
Microbiology studies
UA/urinalysis
Stool examination
History taking
Complete History Taking
CC, PI, Past illness, Family/Social history
SR
General
Cardiovascular
Gastrointestinal/Alimentary
Respiratory system
Urinary System
Nervous System
Genital system
Musculoskeletal System
นางสาวชนกนันท์ บุญเดช รหัส 6310410028