Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 วิวัฒนาการของแนวความคิดและทฤษฎีทางการจัดการ - Coggle Diagram
บทที่ 2 วิวัฒนาการของแนวความคิดและทฤษฎีทางการจัดการ
แนวความคิดการจัดการก่อนแบบคราสสิค
Adam Smith
มีแนวคดที่สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรี
สนใจในเรื่องหลักการแบ่งงานกันทำของแรงงานและทำงานตามความถนัด
บิดาของเศรษฐศาสตร์สำนักคราสสิค
Robert Owen
เป็นนักปฏิรูปและนักอุตสาหกรรมชาวอังกฤษ
เป็นผู้จัดการคนแรกที่เห็นความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์
เสนอแนวคิดการปรับปรุงสภาพการทำงานและความเป็นอยู่ของคนงาน
เป็นการวางรากฐานการจัดการด้านมนุษย์สัมพันธ์
Charles Babbage
เป็นคนแรกที่คิดค้นเครื่องคิดเลขที่เหมือนเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน
ได้เขียนหนังสือชื่อ On the
เป็นบิดาแห่งการคำนวณสมัยใหม่
เสนอแนวคิดการจัดการโดยเน้นปัจจัยมนุษย์
Henry R Town
เป็นวิศวะกรคนแรกที่เห็นความสำคัญของการจัดการ
เสนอให้มีการแยกวิชาการจัดการและการบริหารออกจากวิศวกรรม
ดำรงตำแหน่งเป็นประธานบริษัท I.P.Morris Towne & Co.
เป็นต้นแบบของการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ในยุคต่อมา
แนวความคิดแบบคราสสิคหรือแบบดั้งเดิม
แนวคิดการจัดการแบบระบบราชการ
Max Weber
เป็นผู้พัฒนาแนวคิดการจัดการแบบระบบราชการในอุดมคติ
แนวคิดการจัดการตามหลัดบริหาร
Henry Fayol
บิดาแห่งการจัดการสมัยใหม่
ให้แนวคิดเกี่ยวกับหลักทั่วไปของการจัดการ จำนวน 14 ข้อ
Chester Banard
เขียนหนังสือชื่อ "หน้าที่ของการจัดการ (The Functions of the Executive)"
แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
Frannk , Lullian
ผู้สนับสนุนหลักการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของ Taylor
Hennry L.Gannt
ผู้สนับสนุนหลักการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของ Taylor
Federick W.Taylor
บิดาของการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
แนวความคิดการจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์
Abraham Maslow
สมมติฐานของมนุษย์ที่มีลักษณะสุดโต่ง
Duglas Mcgregor
นักจิตวิทยากลุ่มมนุษย์นิยมทฤษฎี
Elton Mayo
บิดาการบริหารงานแบบมนุษย์สัมพันธ์
เขียนหนังสือ The Human Problems of and Industrial Civilization
แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ
การจัดการการปฏิบัติการ
ใช้เทคนิคเชิงปริมาณมาใช้แก้ปัญหาในการผลิต
การใช้เทคนิคเชิงปริมาณเพื่อปรับปรุงผลผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ให้ข้อมูลแก่ผู้บริหารโดยการนำคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วสูงมาใช้
องค์การธุรกิจยังนิยมใช้เทคนิคเชิงปริมาณชื่อ "ทฤษฎีแถวคอย"
แนวคิดการจัดการร่วมสมัย
ทฤษฎีการจัดการตามสถานการณ์
มุ่งปรับปรุงพฤติกรรมการจัดการตามสถานการณ์เฉพาะอย่างขององค์การ
สามารเลือกใช้วิธีการจัดการที่เหมาะสมกับสถานการณ์
ทฤษฎี Z
เกิดจากการประสานเทคนิคของการบริหารแบบอเมริกันและแบบญี่ปุ่น
การบริหารแบบญี่ปุ่น (Type J) ให้ความสำคัญความใกล้ชิดและไว้วางใจภายในกลุ่มและครอบครัว
การบริหารแบบอเมริกัน (Type A) ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมขั้นพื้นฐาน
ทฤษฎีเชิงระบบ
แนวคิดการจัดการแบบดั้งเดิมมักจะให้องค์กรเป็นระบบปิด
พัฒนาโดยนักชีววิทยา ชาวออสเตรีย