Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการวินิจฉัยชุมชน, นางสาวธนวันต์ อ่วมจ้อย …
การใช้กระบวนการพยาบาลในการวินิจฉัยชุมชน
การรวบรวมข้อมูล
วิธีการรวบรวมข้อมูล
การสนทนากลุ่ม
สัมภาษณ์แบบเจาะจงในกลุ่มเล็ก 8-12 คน
ระยะเวลาสัมภาษณ์ 1-3 ชั่วโมง
การสังเกต
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม
การสังเกตห่างๆด้วยประสาทสัมผัส ที่ไม่ต้องการให้ผู้ถูกสังเกตถูกรบกวน
การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
เป็นการสังเกตที่ผู้สังเกตมีส่วนรวมในกิจกรรมนั้นๆ
การสอบถาม
เก็บข้อมูลจากคนกลุ่มใหญ่ ถามเข้าใจง่าย
ประหยัดเวลาเเละค่าใช้จ่าย
จะได้เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
การใช้แบบทดสอบ
การตรวจวัดด้วยเครื่องมือต่างๆ
การสัมภาษณ์เชิงลึก
ข้อมูลเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น พฤติกรรมสุขภาพ การเข้าถึงบริการ
ใช้เก็บข้อมูลที่ต้องการรายละเอียด
เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม
คำถามเกี่ยวกับความคิดเห็น ทัศนคติ มี 2 แบบ คือ คำถามปลายเปิด และ คำถามปลายปิด
แบบสัมภาษณ์
จดบันทึกคำถาม ถามรานบุคคลหรือกลุ่ม
แบบทดสอบ
ชุดคำถามวัดความรู้ ความถนัด ทดสอบเชาว์ปัญญา
แบบสังเกตเห็น
วัดพฤติผ่านการสังเกต
การวิเคราะห์ข้อมูล
การรวบรวมข้อมูล
ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา
แยกประเภทข้อมูลอกเป็นหมวดหมู่
3.แจกแจงข้อมูล เเจกแจงความถี่
4.วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเปรีบเทียบเกณฑ์
นำเสนอผลการวิเคราะห์
การนำเสนอข้อ
บทความกึ่งตาราง
บทความกับตัวเลข โดย
เรียงจากหมวดมากไปน้อย
เช่น
ตัวอย่าง ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ทัศนคติ และปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคอุจจาระร่วง ในเด็ก อยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ ดังนี้
ความรู้ 40%
ทัศนคติ 36%
การปฏิบัติตัว 32%
ตาราง
บทความ
นำเสนอข้อมูลพรรณา หนือเชิงคุณภาพ
หรือหัวข้อที่มีข้อมูลน้อยๆ โดยบรรยายสั้นๆ
เช่น
ผู้รับบริการวางแผนครอบครัวของ รพ.สต.วิหกเหิน ในปีพ.ศ.2565 มีจำนวน ทั้งสิ้น 120 คน เป็นผู้ใส่ห่วงอนามัย 20 คน (ร้อยละ 16.7) ใช้ยาเม็ด คุมกำเนิด 78 คน (ร้อยละ 65.0 และฉีดยาคุมกำเนิด 22 คน (ร้อยละ 18.3)
กราฟเส้น
แสดงความสัมพันธ์เชิลปริมาณ 2 ตัวแปร แกนx แกน y
แผนภูมิเเท่ง
แผนภูมิวงกลม
Histograms
ปิรามิดประชากร
การวินิฉัยชุมชนเเละการจัดลำดับความสำคัญ
2.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
วิเคราะห์ตามเเนวคิดระบาดวิทยา
Human Host
Environment
Agent
วิเคราะห์ปัจจัยในตัวบุคคล
KAP : K knowledge A Attitude P Practice
หาความสัมพันธ์ของสาเหตุ
ขั้นตอนการวิเคราะห์สาเหตุ
1.ศึกษาธรรมชาติของการเกิดโรค
การสร้างโยงใยเเห่งเหตุของปัญหา
3.ใช้ข้อมูลที่มีในชุมชน เเละใยกลุ่มที่มีปัญหาเเท้จริง
ศึกษา สอบสวนข้อมูลเชิงลึกเพิ่มเติม
สร้างโยงในแห่งเหตุของปัญหาที่เเท้จริงของชุมชน
ระบุปัญหาชุมชน
เปรียบเทียบเกณฑ์
เช่น กับปีที่ผ่านมา หรือกับ จปฐ
หลัก 5 D
Disease
จำนวนผู้พิการจากปัญหานั้นๆ
Disability
จำนวนผู้ป่วยจากปัญหานั้นๆ
Discomfort
จำนวนผู้เกิดความไม่สุขสบาย
Dissatisfaction
จำนวนผู้ที่เกิดความไม่พึงพอใจของประชาชน
Death
จำนวนคนที่เสียชีวิตจากปัญหานั้นๆ
กระบวนการกลุ่ม
ใช้ชุมชนได้วิเคราะห์ปัญหาเเละตัดสินใจเลือกปัญหาด้วยตนเองตามความสำคัญก่อนหลัง ตามความเห็นเเละความต้องการของชุมชน เช่น การประชาคม
วิธีของบริหารสาธารสุข คณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล
ความรุนเเรงของปัญหา
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ความวิตกกังวลของชุมชน
ขนาดปัญหา
นางสาวธนวันต์ อ่วมจ้อย 63102301038 เลขที่ 39