Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การหายใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง Acute and chronic respiratory failure…
การหายใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
Acute and chronic respiratory failure
Chronic Obstructive Pulmonary Disease :
COPD
เป็นกลุ่มโรคที่ทำให้เกิดความผิดปกติของทางเดินหายใจอย่างช้าๆ จนกระทั่งมีการตีบแคบของทางเดินลมหายใจอย่างถาวรหรือเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ เนื่องจากมีการ เปลี่ยนแปลงภายในหลอดลมหรือในเนื้อปอด ทำให้หลอดลมตีบแคบลงโดยแก้ไขให้กลับคืนสู่สภาพปกติไม่ได้
Risk Factors
จากตัวบุคคล
กรรมพันธุ์ : การขาด alpha-1-antiprotease
กลุ่มที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยส่งผลให้ FEV1ลดลง
มีประวัติ Respiratoryinfectionในช่วงอายุก่อนขวบปีแรก
Pulmonaryfunction ที่ลดลงหลังเกิด pneumonia หรือ lower respiratorytract infectionในวัยผู้ใหญ่
Increasedbronchial reactivity
อายุที่มากขึ้น
จากสิ่งแวดล้อม
Occupational dusts
Smoking
Outdoor air pollutants
Indoor air pollutants
Chemical exposure
COPD มีพยาธิสภาพ คือ
ภาวะที่ผนังของหลอดลมมีการอักเสบเรื้อรัง หลอดลมตีบแคบ มีการสร้างเสมหะมากขึ้นทำให้ เสมหะอุดตันหลอดลม
มีความผิดปกติในสัดส่วนการระบายอากาศต่อการไหลเวียนเลือด ไปปอด
ความซึมผ่านชองก๊าซผ่านถุงลมผิดปกติ
การยืดขยายของทรวงอกลดลง ผู้ป่วยจะหายใจลำบากมากขึ้น
อาการและอาการแสดงของ COPD
หอบเหนื่อยและไอมีเสมหะเรื้อรัง
เสียงหายใจออกยาว ฟังได้เสียง rhonchi & crepitation
ทรวงอกโป่งออกด้านหน้าและหลัง (Barrel chest)
การแบ่งประเภทผู้ป่วย COPD
Modified Medical Research Council Dyspnea Score (mMRC)
COPD assessment test (CAT)
Level of airflow limitation
Exacerbation history
หลักการรักษาผู้ป่วย COPD ที่มีอาการกำเริบ
Oxygen therapy
Bronchodilators
Steroid
Ventilation support
Fluid supplement
Specific treatment
Antibiotics
Digitalis
Flurosemide
การหายใจล้มเหลว(Respiratory failure)
แบ่งเป็น 2 ประเภท
ภาวะเลือดขาดออกซิเจน (Oxygenation failure)PaO2 < 60 อย่างเดียวหรือมี PaCO2 เพิ่มขึ้นได้
ภาวะเลือดขาดออกซิเจนร่วมกับภาวะเลือดคั่งคาร์บอนได ออกไซด์(Ventilation failure)PaCO2 >50 & pH < 7.35
เกิดจากความผิดปกติในการแลกเปลี่ยนแก๊ส 4
ประการ
Diffusion limitation ถุงลมหนาตัว การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง
Ventilation perfusion abnormality (V/Q mismatch) มีการกระจาย อากาศในถุงลมกับเลือดที่ผ่านถุงลมไม่สมดุลกัน
Intrapulmonary shunt มีการแฟบของถุงลม มีหนองในปอด น้ำท่วมปอดO2 ไม่ทำให้ระดับ O2 ในเลือดสูงขึ้น
Alveolar hypoventilation มีการลดของ O2 เข้าสู่บริเวณถุงลม เลือดมี PaCO2 เพิ่มขึ้น
การวินิจฉัย
ประวัติช่วยให้ทราบสาเหตุของการเกิดภาวะหายใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดงตามระบบต่าง ๆ
อาการและอาการแสดงตามระบบต่าง ๆ
เหงื่อออกมาก แสดงถึงมีการออกแรงในการหายใจมาก
ไม่สามารถพูด หรือเคลื่อนไหวแขนขาได้แสดงถึงการ หายใจไม่ได้มีพลังงานจำกัด
กระสับกระส่ายสับสนหรือคงามรู้สึกตัวเปลี่ยน
ใช้ accessory muscle ในการหายใจเข้า
หลักการรักษาพยาบาล
การแก้ไขภาวะขาดออกซิเจน โดยการให้Oxygen therapy
การใช้เครื่องช่วยหายใจเมื่อผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เพียงพอ โดยมี ข้อบ่างชี้ที่จะใส่ท่อช่วยหายใจ และใช้เครื่องช่วยหายใจ ได้แก่ progressive respiratory acidosis ซึม
ลดการอักเสบของหลอดลม โดยให้ Corticosteroids
ลดภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจโดยการใช้ Bronchodilators
ทดแทนสารน้ำที่สูญเสียไป จากอาการหอบ Fluid therapy
รักษาunderlying
Specific treatment
Oxygen Therapy
ข้อบ่งชี้
Hypoxemia
increased work of breathing
Increased myocardial work
Increased pulmonary vascular resistance
Phamarco Therapy
Beta 2 agonist ออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมคลายตัว ต้านการอักเสบ และเพิ่มmucociliaryclearance
Anticholinergic ออกฤทธิ์ทำให้ยับยั้งการหดเกร็ง หลอดลมขยายตัว
Methylxanthines ออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อเรียบหลอดลมขยาย กล้ามเนื้อหายใจมีแรงมากขึ้น
Corticosteriods ออกฤทธิ์ลดกระบวนการอักเสบช่วยลดอาการกำเริบ ลดการสร้างเมือกในหลอดลม ลดการบวม