Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความเข้าใจเบื้องต้น เกี่ยวกับสุนทรียะ - Coggle Diagram
บทที่ 1
ความเข้าใจเบื้องต้น
เกี่ยวกับสุนทรียะ
สุนทรียศาสตร์
ทฤษฎีแห่งความงาม และปรากฏการณ์ที่งดงามทางธรรมชาติ
เป็นที่รู้จักในรายวิชา “ทฤษฎีแห่งความงาม” หรือ “ปรัชญาแห่งรสนิยม”
ความงามเปรียบเสมือนอารมณ์ หรือลมหายใจของมนุษย์
สุนทรียภาพ
ความรู้สึกของมนุษย์ที่รู้จักค่าของวัตถุความงดงาม เป็นไปตามอุปนิสัย
การรับรู้ของมนุษย์ที่ส่งผลสู่ความนิยมชมชอบ ชื่นชม ซาบซึ้ง
มนุษย์กับประสบการณ์ทางความงาม
ความต้องการทางจิตใจหรืออารมณ์ “อาหารใจ”
ความงามที่แตกต่างขึ้นอยู่กับรสนิยม การศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อม
ความเพลิดเพลิน ความรู้สึกจากจิตสำนึกที่ทำให้จิตได้พักผ่อน
ความต้องการทางกายภาพ “ปัจจัยสี่”
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการหาคุณค่าทางสุนทรียะ
บุคคล
ผู้มีความรู้ความสามารถในการตีคุณค่าสิ่งต่างๆ รับรู้ความรู้สึกทางสุนทรียะ
วัตถุ
สิ่งที่มีอยู่เป็นศิลปวัตถุ หรือวัตถุตามธรรมชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับวัตถุ
ความผูกพันทางจิตใจ ความถี่แห่งความสนใจ
เกณฑ์สำหรับให้บุคคลได้ใช้เป็นมาตราฐาน
การตีคุณค่าทางสุนทรีย์ของวัตถุ
การเกิดค่า
สิ่งที่ตรงตามมาตรฐานและยอมรับกัน
ความงามคืออะไร
ความงามเป็นจิตวิสัย
ความชอบ พอใจ สนใจ อยู่ในห้วงแห่งจินตนาการนอกโลก
ยึดจิตเป็นตัวกำหนดความงาม
ความงามเป็นวัตถุวิสัย
การเน้นคุณค่าของความงาม ที่มีอยู่จริงในจักรวาลเกิดเองตามธรรมชาติ ไม่ได้อยู่กับความพอใจของมนุษย์ ความสมบูรณ์ที่เกิดจาก รูปร่าง รูปทรง สีสัน สัดส่วนที่มีความสมดุล
คุณค่าความงามจำเป็นต้องอาศัยความรู้สึกและประสบการณ์ของมนุษย์ในการตัดสินใจ
ความงามเป็นภาวะสัมพันธ์ ระหว่างคนกับเหตุการณ์
สุนทรียศาสตร์มีความจำเป็นต่อมนุษย์อย่างไร
การเพิ่มคุณค่าให้กับตนเอง ด้านความรู้ สติปัญญา
การมีความคิดสร้างสรรค์ จิตนาการ
การมีค่าความดี ความงาม ความพอใจ
การรู้สึกเพลิดเพลิน จรรโลงใจให้ร่าเริง ผ่อนคลายตามความต้องการของตนเอง
ความงามกับแหล่งกำเนิด
ปัญหาทางความงามที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและวัตถุ
ความงามเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์
ธรรมชาติ > ความงามมาตรฐาน มีกระบวนการที่แน่นอน มีความจริงเป็นนิรันดร์ “สุนทรียธาตุ”
มนุษย์ > ความงามที่เกิดจากความสร้างสรรค์ของมนุษย์ เน้นตอบสนองความเชื่อด้านต่าง ๆของมนุษย์ ด้วยการดัดแปลง ล้อเลียนธรรมชาติ
ความงามในทัศนะของนักปรัชญา
ความงามเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง เป็นสิ่งที่มีอยู่อย่างอมตะ
เหตุผลปัจจัยแห่งความงาม ความสมบูรณ์ , ความกลมกลืน , ความเด่นชัด
ความงามไม่ได้ขึ้นอยู่กับคุณภาพของวัตถุ แต่เกิดจากความรู้สึกว่างาม
ศิลปะเป็นการแสดงความงามโดยจิตมีอำนาจเหนือวัตถุ
“วิญญาณเป็นพื้นฐานของปัญญา แต่จินตนาการเป็นพื้นฐานของศิลปะ”
“เป็นสิ่งที่มีความงามเป็นของเฉพาะตัวมันเอง”
ระดับของความงาม
ความงามระดับพื้นฐาน
เน้นคุณค่าที่เป็นค่านิยมถือเป็นวัฒนธรรม
ถ่ายทอดหรือปลูกฝังกันอย่างต่อเนื่อง
ไม่มีกระบวนการซับซ้อนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
ความงามมาตรฐาน
เป็นความงามขั้นสูง
เป็นระบบต่อเนื่องทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
มาตรฐานจำเพาะ
เฉพาะกลุ่ม หรือระดับชาติ
มาตรฐานสากล
แสดงถึงเอกลักษณ์ต้นแบบของวิถีชีวิต
ความสมดุล
ความกลมกลืน
เอกภาพ
บริเวณว่าง
จังหวะ
ความเด่นชัด