Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
งานวิจัยเกี่ยวกับ Ergonomics ในไทย, ุ - Coggle Diagram
งานวิจัยเกี่ยวกับ Ergonomics ในไทย
วัลลภา รักษาแก้ว
RULA, REBA , NIOSH Lifting Equation
ผลการสำรวจความเมื่อยล้าของร่างกายเบื ้องต้น
ของพนักงานจำนวน 133 คน
ใช้ค่า RWL ไปปรับตำแหน่งวางสินค้าใหม่ในแต่ชั้นและในงานเติมลังเปล่า มีการเปลี่ยนตำแหน่งการทำงานลดการเอี้ยวตัว และลดจำนวนครั้งในการยกแต่ละรอบ ซึ่งทำให้ค่า CLI ลดลง หลังการปรับปรุงแก้ไขพบว่าระดับความเสี่ยงลดลง และพนักงานมีความพึงพอใจกับการปรับปรุงแก้ไขในระดับมาก
การยศาสตร์ของพนักงานแผนก Break Case ศูนย์กระจายสินค้า
อรณิชา ยมเกิด
RULA
แบบประเมิน RULA เพื่อวิเคราะห์หาความเสี่ยงและความจําเป็ นในการปรับเปลี่ยนท่าทางการทํางาน ร่วมกบการประเมินด้วยวิธีจิตพิสัยโดยใช้แบบสอบถามภาวะความไม่สบายในการทํางาน โดยให้พนักงานประเมินตามระดับความรู้สึกไม่สบายในร่างกายแต่ละส่วน
การปรับปรุงท่าทางการทำงานของพนักงาน ในอุตสาหกรรมตีมีด
ใช้กลุ่มตัวอย่าง 10 คนในอุตสาหกรรมตีมีด
ออกแบบร่วมกับหลักการออกแบบเกาอี้นั่งงตามหลักการยศาสตร์ ใช้ระยะเวลาทดลองทํางานที่ปรับปรุงเป็นระยะเวลา 1 เดือน แล้ว ถามใหม่ จากแบบสอบถามพนักงานส่วนใหญ่รู้สึกพอใจมากต่อเกาอี้ที่ปรับปรุง
พรศิริ จงกล
Risk assessment index
ศึกษาปัจจัยด้านงานที่มีผลต่อการบาดเจ็บกล้ามเนื้อและกระดูก และประเมิน
ความเสี่ยงของลักษณะงานก่อสร้างโดยใช้ดัชนีประเมินความเสี่ยง
การวิเคราะห์งานก่อสร้างโดยใช้หลักการยศาสตร
ผลการศึกษาพบว่าคนงานส่วนใหญ่
ร้อยละ 73.18 เคยมีอาการบาดเจ็บที่หลังส่วนล่าง
พบว่างานปูกระเบื้องมีความเสี่ยงต่อการ
บาดเจ็บมากที่สุด รองลงมาคือ งานปูน/ฉาบผนัง งานทาสี และงานแบก/หาม ตามลำดับ
ควรให้ความส าคัญต่อการลดระยะเวลาการททำงานที่ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ในท่าทางผิดธรรมชาติ
ให้สั้นลง
วรรณลักษณ์ แสงโสดา
RULA, REBA
การวิจัยในครั ้งนี ้ยังได้ทําการตรวจวัดค่าความเมื่อยล้ากล้ามเนื ้อ ด้วยเครื่องวัดค่าความเมื่อยล้ากล้ามเนื ้อ พบกล้ามเนื ้อ Deltoid และ Trapezius ด้านซ้ายและขวา ของพนักงานสถานีงาน WR-3 มีความเมื่อยล้าสูงสุด ทําการปรับปรุงสถานีงานโดยการเปลี่ยนโต๊ะทํางาน ปรับปรุงจุดรับงาน เพิ่มอุปกรณ์พักกึ่งนั่งเพื่อลดความเมื่อยล้า
การปรับปรุงสถานีงานเพื่อลดความเมื่อยล้าและการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อสำหรับพนักงาน ประกอบในอุตสาหกรรมผลิตกล้องวงจรปิ ด
สรุปผลได้ว่าการปรับปรุงสถานีงานท่าทางปฏิบัติงานใหม่ และอุปกรณ์ที่ออกแบบใหม่ สามารถช่วยลดความเมื่อยล้าของตําแหน่งกล้ามเนื ้อ Deltoidด้านซ้ายและขวาและกล้ามเนื ้อ Trapezius ด้านซ้ายและขวา ได้เป็นอย่างดี
ณฤดี พูลเกษม
เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เพื่อประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ของ ท่าทางการทำงานในประกอบอาชีพเกษตรโคนม
กลุ่มตัวอย่างคือประชาชนผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม จำนวน 43 คน
RULA, REBA
การประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ของท่าทางการทำงานในประกอบอาชีพเกษตร ผู้เลี้ยงโคนม หมู่บ้านหนองไข่น้้ำ ตำบลจันทึก อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
ประเมิน RULA พบว่าความ เสี่ยงเฉลี่ยเท่ากับ 6.95 แสดงว่า ท่าทางการทำงานมีความเสี่ยงเป็นปัญหาทางการยศาสตร์ และควรรีบหาแนวทาง ปรับปรุง
บประเมิน REBA พบว่าความเสี่ยงเฉลี่ยเท่ากับ
10.04 แสดงว่า ความเสี่ยงสูงควรวิเคราะห์เพิ่มเติมและควรรีบปรับปรุง
ไวยวิทย์ ไวยกาญจน
RULA, REBA
ผู้ที่เข้าร่วมในการศึกษานี้เป็นพนักงานที่มีอายุอยู่ในช่วง
19-24 ปี จ านวน 7 คน
การประเมินทางการยศาสตร์สำหรับงานยกในโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์
คะแนนรวมของการประเมินร่างกายส่วนบนแบบรวดเร็วมีค่าเท่ากับ 6 และคะแนนรวมของการประเมินทั้งร่างกายแบบรวดเร็วเท่ากับ 11 แสดงให้เห็นว่าพนักงานต้องทำงานที่มีการเคลื่อนไหวซ้ าไปซ้ ามาและเกิดภาวะสถิตในกล้ามเนื้อและท่าทางการยกที่มีช่วงการเคลื่อนไหวไม่เหมาะสม
ควรมีการพิจารณาการออกแบบระบบการทำงานใหม่เพื่อลดระดับปัจจัย
เสี่ยงสำหรับงานยกด้วยมือเปล่าในการวางแผนพัฒนาระยะยาว
ุ