Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 การประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ การวินิจฉัยและการแปลผล,…
หน่วยที่ 1 การประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
การวินิจฉัยและการแปลผล
Antenatal Assessment
Biophysical Assessment
หลักทางฟิสิกส์
Fetal Movement Count : FMC
บทบาทอิสระที่พยาบาลแนะนำได้ คือการนับการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ FMC หลักการนับเด็กดิ้น ควรไม่น้อยกว่า :!: 10 ครั้ง :!: ภายในเวลา 12 ชม.
Sadovsky & wood : DFMR (daily fetal movement record
เกณฑ์
DFMR 10 ครั้ง/วัน
วิธี
ให้นับเวลา 08.00-20.00 (12ชม.) นับ เช้า-เที่ยง-เย็น เวลาละ 1ชั่วโมง แปลผล 3เวลารวมกันต้องไม่น้อยกว่า 10ครั้ง
ถ้าน้อยกว่า 10 ครั้งใน 12 ชม. 2 วันติดกัน
:no_entry:อันตรายควรให้คลอดทันที :no_entry:
ถ้าทารกดิ้นน้อยกว่า 3ครั้ง ในแต่ละช่วงควรนับต่อไปอีก
:no_entry:ถ้าน้อยกว่า 3ครั้งถือเป็นสัญญาณอันตราย :no_entry:
Person & Weaver : Cardiff count to ten
เกณฑ์
DFMR 10 ครั้ง/วัน
วิธี
นับ 9.00น. ทุกวัน จับเวลาว่านานเท่าไหร่ทากรกดิ้นครบ 10 ครั้ง
ถ้าใช้เวลามาก DFMR ลดลง
ทารกในครรภ์สุขภาพทารกไม่ดี
ถ้าใช้เวลามากเรื่อยๆ และ :no_entry:12 ชม. ดิ้นน้อยกว่า 10ครั้ง เป็นภาวะอันตราย :no_entry:
ถ้า DFMR ลดลง 3-4วัน และทารกไม่ดิ้นมา 12-48ชม.
ทารกตายในครรภ์
Neldam
เกณฑ์
ถ้าดิ้นน้อยกว่า 3ครั้ง/มื้อ ให้ตรวจ NST หรือ biophysical profile
วิธี
นับ 2 ชม. หลังอาหารทุกเมื้อ 3วัน/สัปดาห์
Ultrasound คลื่นเสียงความถี่สูง
5-7 wks
Gestational sac
7-14 wks
การวัด Crown-rump length (CRL)
14-26 wks และไตรมาสที่ 2
วัด Biparietal diameter (BPD)
ประโยชน์
ประเมินการเติบโตทารก&วินิจฉัยความผิดปกติ
ประเมินสุขภาพทารก เช่น Biophysical profiles (BPP)
ตรวจดูส่วนนำ/ท่าของทารก
Non Stress test :NST
ข้อบ่งชี้ : ทารก
Post term
ภาวะทารกโตช้าในครรภ์ (IUGR)
น้ำคร่ำน้อยลง
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
ทารกแฝดที่เติบโตติดกัน (Discordant twins)
ข้อบ่งชี้ : มารดา
มารดามี Medication Complication
มารดามี Obstetric Complication
มารดามีประวัติคลอดทารกตายในครรภ์
Rh isoimmunization
ภาวะแทรกซ้อนทางศัลยกรรม
การพยาบาล
ก่อนตรวจ
อธิบาย
จัดท่าsemi fowler
วัดBP
เตรียมอุปกรณ์
บันทึก BP ,FHR
ขณะตรวจ
อยู่กับผู้บริการ
ประเมินการดิ้นทารกใน 20 นาที ถ้าไม่ดิ้นให้กระตุ้น
เก็บอุปกรณ์
หลังตรวจ
แจ้งผลโดยแพทย์และให้คำแนะนำ
หลักการอ่าน EFM
1.คุณภาพสัญญาณ Transdusure ตัวรับสัญญาณ
ต่อเนื่อง
ไม่ต่อเนื่อง
2.ความเร็วและมาตราส่วนเส้นกราฟ
3.เป็น Internal หรือ External monitoring
การแปบผล
Acceleration
การเปลี่ยนแปลงของ FHR เพิ่มจาก baseline มากกว่า15 ครั้งเป็นอยู่นาน มากกว่า 15 วิ
Deceleration
การเปลี่ยนแปลงของ FHR ลดลง จาก baseline อย่างน้อย 15 ครั้ง/นาที เป็นอยู่นานมากกว่า 15 วินาที
Reactive NST (ปกติ)
การมีFHR อย่างน้อย 2 accelerations ซึ่งมีขนาดอย่างน้อย 15 bpm กินเวลาอย่างน้อย 15 วิ ในช่วงเวลาหนึ่งที่สังเกตนาน อย่างน้อย 20 นาที
Non-reactive (ผิดปกติ)
no FHR acceleration or no Fetal Movement นานถึง 40 วิ มีการ accelerationน้อยกว่า 2ครั้ง อัตราน้อย 15 bpmกินเวลาน้อยกว่ากว่า 15 วิ ยังไม่ครบดังกล่าวแปลว่า ผิดปกติ
Suspicious (ก้ำกึ่ง)
:forbidden:FHR acceleration < 2 ครั้งในระยะเวลา 20 min, FHR < 15 bpm, < 15 sec, ควรทำซ้ำใน 24-48 ชม. :forbidden:
Contraction stress test : CST
acceleration
deceleration
Early
Late
Veriable
Prolonged
Biophysical Profile :BPP
แปลผล
8-10
ปริมาณน้ำคร่ำปกติ แปลผลว่าทารกในครรภ์ยัง ปกติดี ไม่จำเป็นต้องรีบให้คลอด
6-8
ปริมาณน้ำคร่ำปกติ โอกาสเกิด asphyxia น้อย แต่ต้องตรวจ BPP ซ้ำใน 24 ชั่วโมง แต่ ถ้าน้ำคร่ำน้อย โอกาสเกิด asphyxia สูงขึ้น
0-4
ทารกอยู่ในภาวะคับขัน ควรรีบให้คลอด
การพยาบาลหลังตรวจ
แก้ไขเมื่อมีภาวะ uterine hyperstimulation หยุดการให้ยา ocytocin
จัดท่ามารดา ตะแคงซ้าย
ให้ออกซิเจนทางหน้ากาก 8-10 LPM
เพิ่ม uterine blood flow โดยการจัดท่ามารดา ให้สารน้ำ ทางเส้นเลือด
ประเมินการเต้นของหัใจทารกตลอดเวลาผิดปกติอย่างต่อเนื่องอยู่ ควรทำการคลอดทารกทันที
Biochemical Assessment
หลักทางเคมี
9-12 wks
Chorionic villi sampling : CVS การตัดชิ้นเนื้อรก
เป็นการตัดชิ้นเนื้อ หรือดูดเนื้อรกบางส่วนมาเพื่อวิเคราะห์โรคของทารกในครรภ์ จึงทำในรายที่มีความเสี่ยงต่อความผิดปกติทางโครโมโซม
การพยาบาล
ก่อนทำ
อธิบาย ให้คำปรึกษา
เตรียมอุปกรณ์ทำ Amniocentesis
ขณะทำ
จัดท่านอนหงายราบ
เตรียมหน้าท้องด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ
หลังทำปิดก๊อสให้แน่น นอนพักสังเกตอาการ 1-2 ชม.
หลังทำ
ให้คำแนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติเลี่ยงยกของหนัก
นอนพัก 24ชม.
งดมีเพศสัมพันธ์ 2-3วัน
15-18 wks
Amniocentesis
การเจาะดูดถุงน้ำคร่ำ
การใช้เข็มแทงผ่านผนังหน้าท้อง และผนังมดลูกเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ เพื่อดูดเอาน้ำคร่ำออก มาส่งตรวจวิเคราะห์หาเซลล์ทางพันธุศาสตร์ เพื่อวินิจฉัยโรคพันธุกรรมก่อนกำหนด
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
การอักเสบในช่องท้องเพราะอาจเจาะทะลุลำไส้ อาจมีการตกเลือดในช่องท้องเพราะมีการฉีกขาดของ inferior epigastric vessels
ด้านทารก
การสูญเสียทารก Fetal loss
อาจเกิดการแท้ง หรือคลอดก่อนกำหนดโดยไม่ทราบสาเหตุ, มีโอกาสเกิดการรั่วของถุงน้ำคร่ำ, intra-amniotic
อันตรายจากเข็มที่ใช้เจาะ Needly injury
ได้แก่การเกิด cyst ที่ตาลูก ตาถูกเจาะทะลุ, injury ต่อตับ ม้าม ไต ลำไส้ แขนขา และมีโอกาสเกิดก้อนเลือดที่สายสะดือ
การพยาบาลเหมือน CVS
มากกว่า 18 wks
Cordocentesis การเจาะสายสะดือทารก
เป็นวิธีหนึ่งในการเจาะดูดเลือดทารกในครรภ์ Fetal blood sampling จะได้ผลตรวจประมาณ :!: 72 ชม. :!:
ภาวะแทรกซ้อน
Fetal Bradycardia
สูญเสียทารก
Fetomaternal Hemorrhage
Preterm
การเสียเลือดของทารก
Aruption
16-20 wks
Triple test
ตรวจเลือดมารดาหา AFP, hCG, Estriol
AFP (Alpha fetoprotein) โปรตีนที่สร้างจากทารกในครรภ์
เป็น Glycoproteinที่สร้างจากYolk sac ในระยะแรกของการตั้งครรภ์และจากระบบทางเดินอาหารและตับ โดยมีความเข้มข้นสูงสุดที่สัปดาห์ที่ 13 ส่วนความเข้มข้น AFP ในซีรั่มทารกประมาณ 1000 เท่าของในน้ำคร่ำ
hCG ฮอร์โมนที่สร้างจากรก
Estriol เป็นฮอร์โมน Estrogen ที่สร้างจากทารกและรก