Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวโน้มของการจัดการศึกษาในสภาพการณ์ต่างๆ และ การบริหารความเสี่ยง…
แนวโน้มของการจัดการศึกษาในสภาพการณ์ต่างๆ และ การบริหารความเสี่ยง ความขัดแย้ง
สภาพการณ์ทางการศึกษาปัจจุบัน
สัญญาณเปลี่ยนอนาคตทางการศึกษา
Credit Bank for Life-Long Learning
Weakening Value of Degrees
Specialism Vs. Multipotentiality
School as a Mega Corporation
Echo Chamber
Teacher as a “Meddler in the Middle”
AI-Based Teaching & Tutoring
The World as Our Classroom
Integration of Tele-education and Virtual Schools
Edutainment
Immersive Education (AR/VR)
Just-in-Time Knowledge and Learning
Cognitive Enhancement
Focus on Learning How to Learn
Learning to be Human
ทักษะสำคัญแห่งศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี
ทักษะชีวิต และอาชีพ
การศึกษาในยุคดิจิทัล
เทคโนโลยีดิจิทัล
เทคโนโลยีที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อประมวลผล จัดเก็บ เเละส่งสัญญาณ
เทคโนโลยีดิจิทัล
Artificial Intelligence (AI)
การใช้หุ่นยนต์, โดรน, เเละยานยนต์ไร้คนขับ
Cloud Computing
เทคโนโลยี 5G
Extended Reality (XR) – AR/VR/MR
วิวัฒนาการการศึกษาไทย 1.0 - 4.0
1.0 ผู้เรียนเน้นท่องจำตำรา เเละทำแบบฝึกหัดตามตำรา ไม่ได้เน้นกระบวนการ
2.0 เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจเเละความเเตกต่างระหว่างบุคคล
3.0 เน้นให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ใหม่เเละสิ่งประดิษฐ์ใหม่ โดยใช้กระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคิด)
4.0 การพัฒนาของเทคโนโลยีเเละอินเตอร์เน็ต ทำให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์จากผู้เชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ ได้
การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
Digital Learning
การเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Application สื่อออนไลน์
ทักษะความสามารถสำหรับการรู้ดิจิทัล
1.ใช้(Use)
ทคนิคที่จำเป็นในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
2.เข้าใจ(Understand )
ชุดทักษะที่จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ เพื่อตัดสินใจเกี่ยวกับอะไรที่ทำและพบบนโลกออนไลน์
3.สร้าง (Create)
ผลิตเนื้อหาหรือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพผ่านเครื่องมือสื่อดิจิทัลที่หลากหลาย
4.เข้าถึง (Access)
การเข้าไปใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลค้นหาสิ่งที่ต้องการจากอินเตอร์เน็ต
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา
5 G
AI
Blockchain
Coding
Apps
Educationmodel
Mooc
บทเรียนออนไลน์
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้
Vr &Ar
เทคโนโลยีที่ช่วยพัฒนาการศึกษา
การเรียนรู้แบบไฮบริด (Hybrid Learning )
เทคโนโลยีเกม (Gamification )
การเรียนรู้แบบไมโคร (Microlearning )
เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing )
การเล่าเรื่องผ่านสื่อดิจิทัล (Digital storytelling )
การบริหารความเสี่ยงและความขัดแย้งในสถานศึกษา
ความหมายความเสี่ยง
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
หตุการณ์ในที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งหากเกิดขึ้นจะก่อให้เกิดความเสียหาย/สูญเสีย ล้มเหลวต่อองค์กร
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ.2546
ลอง เผชิญดู หรือลองทําในสิ่งที่อาจจะให้ผลได้สองทาง คือผลทางดี หรือทางไม่ดี
Robbins และ Coulter (2005)
เป็นสถานการณ์ที่ผู้ตัดสินใจในการดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งยังพอจะคาดเดาผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจดังกล่าว ได้ในระดับหนึ่ง
การบริหารความเสี่ยง
ความหมาย
Collins,(2003)
การดําเนินการเพื่อควบคุม หรือทําให้ปัจจัยที่อาจจะส่งผลในลักษณะที่เป็นความเดือดร้อน ภัยคุกคาม ความสูญเสีย หรือ อันตราย ลดน้อยลง
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กระบวนการดำเนินงานขององค์กรที่เป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อช่วยให้องค์กรลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย ให้ระดับของความเสียหายและขนาดของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้
วัตถุประสงค์
เข้าใจหลักการและกระบวนการบริหารความเสี่ยง
ผู้ปฏิบัติงานได้รับทราบขั้นตอนและกระบวนการในการวางแผนบริหารความเสี่ยง
มีการปฏิบัติตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
เป็นเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงในหน่วยงานทุกระดับ
ปัจจัยที่มีผลต่อความเสี่ยง
ภายนอก
ความเสี่ยงจากภาครัฐ
ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
ความเสี่ยงจากการเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
ภายใน
ขนาดขององค์กร
คุณภาพของระบบควบคุมภายใน
ความสามารถของฝ่ายบริหาร
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมการควบคุม
กลยุทธ์บริหารความเสี่ยง
การยอมรับ
การควบคุม
การโอน/การแบ่ง
การหยุด/การหลีกเลี่ยง
ความขัดแย้ง
แมกก์ และ พีซ (Reymond W. Mack and John Pease) (1973)
การเป็นปรปักษ์ต่อกันอย่างเปิดเผยของบุคคลหรือกลุ่ม
วิจิตร วรุตบางกูร(2546)
สถานการณ์ที่แต่ละบุคคลมีความเห็น ความเชื่อไม่ตรงกันและตกอยู่ในภาวะที่ไม่อาจตกลงหาข้อยุติที่น่าพอใจได้ทั้งสองฝ่าย
พจนานุกรมฉบัราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2556
ไม่ลงรอยกัน
ขั้นตอนในการบริหารความขัดแย้ง (Conflict Management)
หาสาเหตุ
หาพื้นที่
ตั้งใจฟังและเปิดโอกาส
กำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
กำหนดความรับผิดชอบในการแก้ไขปัญหา
ประเมินผลและวางแผนป้องกันปัญหา
แนวโน้มทางด้านเทคโนโลยี ด้านการเมืองการปกครอง
ด้านเศรษฐกิจ ด้านสาธารณสุข
ด้านเทคโนโลยี
การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่หั่นต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน
ด้านการเมืองการปกครอง
โลกจะเข้าสู่ระดับสังคมผู้สูงอายุการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงต้องวางแผนในการรองรับผลกระทบจากประชากรวัยเรียนที่ลดลง รวมถึงการวางพื้นฐานในการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะและสมรรถนะสูง เพิ่มเติมทักษะชีวิตและทักษะทางสังคม และการส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิต
ด้านเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจที่พึ่งพาการลงทุนและการค้าระหว่างประเทศดังนั้น การศึกษา ต้องพัฒนาคนให้มีทักษะที่สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ที่มีคุณค่าต่อระบบเศรษฐกิจ การเปิดเสรีทางการค้า และการลงทุน เกิดการเคลื่อนย้ายสินค้า และเงินลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น
ด้านสาธารณสุข
เนื่องจากจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมลพิษที่เพิ่มขึ้น ได้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพและความเป็นอยู่ ของมนุษย์ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย มีทิศทางการพัฒนาไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการดำเนินงานตามอนุสัญญาและข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีมาตรการสนับสนุนการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมด้านการเงินการคลัง รวมถึงการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
นางสาวธารนันท์ สุขสมโภชน์
สาขานวัตกรรมการบริหารการศึกษา
รหัสนักศึกษา 65U54620206