Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวอภิชญาพร ก้อนศรีลา รหัส65U54620209, พลวัตการเมือง เศรษฐกิจ สังคม…
นางสาวอภิชญาพร ก้อนศรีลา รหัส65U54620209
พลวัตการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ที่มีผลต่อการจัดการศึกษา
(ก่อนค.ศ.2000-ปัจจุบัน)
ก่อนรัตนโกสินทร์ - รัตนโกสินทร์ตอนต้น
สมัยธนบุรี
ด้านวิทยาศาสตร์
การส่งเสริมให้เกิดการสำรวจ
ด้านศิลปะ
การเรียนรู้ศิลปะสถาปัตยกรรม ศิลปะประติมากรรม
ด้านศาสนา วัฒนธรรม
การศึกษาเกี่ยวกับศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู
รูปแบบการศึกษา
การเรียนรู้ศาสนาและวัฒนธรรม
การสอนวิชาต่างๆ
การเรียนรู้ผ่านการศึกษาสถานที่
การเรียนรู้เกี่ยวกับการเมืองและการปกครอง
ด้านสาขาอาชีพ
การหมักสี การทำผ้า การหลอมเหล็ก
สมัยอยุธยา
ด้านดนตรีและภาษา
การเรียนรู้ดนตรีที่ใช้ในพิธีกรรม
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การเกษตรและการใช้สารสกัดจากธรรมชาติ
ด้านวัฒนธรรม
สนับสนุนให้เกิดการศึกษาเกี่ยวกับศิลปะเพื่อสืบสาน
และรักษาศิลปะและวัฒนธรรมไทย
รูปแบบการศึกษา
ศาสนา
การสร้างวัดและศูนย์การศึกษาทางศาสนา
เพื่อศึกษาวิชาการและศาสนาสู่ประชาชน
รูปแบบการศึกษา
การศึกษาในพระราชวัง
การศึกษาในวัด
พิทยาลัยวัด
การศึกษาส่วนบุคคล
การศึกษาส่วนกึ่งอาชีพ
สมัยสุโขทัย
ด้านเศรษฐกิจ
ารมีระบบการศึกษาที่แข่งขัน
และรองรับความต้องการของ
สังคมทำให้คนสามารถเรียนรู้
และพัฒนาทักษะอาชีพในสาขาต่าง ๆ
ด้านสังคม
พัฒนาทักษะทางวิชาชีพ เช่น ศิลปะ หรือการเกษตร
ด้านวัฒนธรรม
มีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของสังคม
และกฎหมายที่ต้องปฏิบัติ
รูปแบบการศึกษา
การศึกษาในที่นอกศูนย์กลาง
การศึกษาศาสนา
การศึกษาตามเลขาธิการ
การศึกษาในที่นอกเมือง
สมัยรัตยโกสินทร์ตอนต้น
การสร้างสถาบันการศึกษาที่มีมาตรฐาน
สร้างสถาบันการศึกษาที่มีมาตรฐานและเปิดโอกาสให้คนทั่วไปสามารถ
เข้ารับการศึกษาได้
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อให้ตอบสนองความต้องการในสังคม
และเศรษฐกิจ
ด้านการเรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพและฝีมือ
พัฒนาฝีมือเพื่อให้เป็นผู้เชี่ยวชาญในอาชีพที่ตนเองทำ
รูปแบบการศึกษา
การศึกษาทางเลือกสายอาชีพ
การศึกษาทางวิชาการ
ด้านภาษาและวรรณคดี
เรียนรู้เพื่อพัฒนาภาษา
และวรรณคดีของประเทศ
ด้านศิลปะและวัฒนธรรม
การเสริมสร้างอัตลักษณ์และความเป็นเอกลักษณ์ของประเทศ
ยุคโลกาภิวัฒน์
ด้านเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรมของไทยก้าวสู่ระบบเทคโนโลยี และวิกฤตต้มยำกุ้ง ปี พ.ศ.2540
ด้านสังคม
ได้นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เข้ามาปรับใช้อย่างสมบูรณ์เเบบ ในปี พ.ศ.2540
ด้านการศึกษา
ในปี พ.ศ.2535 ได้ทำการปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ขึ้นเป็นกฎหมายแม่บทการศึกษาอย่างชัดเจน
ด้านการเมืองการปกครอง
มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ขึ้นอย่างเต็มรูปแบบ
สมัยปฏิรูปการศึกษา - สมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญระยะแรก
การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา
(พ.ศ.2412-2474)
ด้านเศรษฐกิจ
จัดการการคลังให้เกิดความเป็นระบบ จัดตั้งธนาคารแห่งแรกในประเทศไทย คือ แบงค์สยามกัมมาจล (ธนาคารไทยพาณิชย์)
ด้านการเมืองการปกครอง
สร้างเมืองจำลองดุสิตธานีเป็นเมืองเล็ก ๆ
มีพระธรรมนูญการปกครองลักษณะนัคราภิบาล
ยกเลิกระบบจตุสดมภ์ และตั้งกรมราชการต่าง ๆ
กำหนดพระราชบัญญัติการปกครองท้องถิ่น
ด้านเทคโนโลยี
มีการจัดสร้างถนน สร้างทางรถไฟ
เพื่อสะดวกต่อการสัญจรแก่ประชาราษฎร์
ด้านการศึกษา
สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 7
การประกาศใช้กฎหมายการศึกษา คือพระราชบัญญัติประถมศึกษา ทำให้การศึกษาแพร่หลายออกไป แต่ขาดความพร้อมทางด้านงบประมาณ
ย้ายกรมธรรมการกลับเข้ามารวมกับกระทรวงศึกษาธิการ
ยกเลิกการเก็บเงินศึกษาพลีคนละ 1 – 3 บาท จากผู้ชาย
ทุกคนที่มีอายุระหว่าง 16 - 60 ปี โดยใช้เงินจากกระทรวงพระคลังมหาสมบัติอุดหนุนการศึกษาแทน
จัดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติครั้งแรก ที่วังสราญรมย์
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5
1) เน้นการศึกษาวิชาสามัญให้ราษฎรทั่วไป ทั้งในกรุงเทพมหานครและหัวเมืองให้รู้หนังสือ อ่านออกเขียนได้ รู้วิชาอย่างวิชาสามัญ
2) เน้นกุลบุตรให้มีความรู้ความสามารถเพียงพอที่จะเข้ารับราชการ
3) มุ่งส่งเสริมบุคคลที่มีความสามารถ เฉลียวฉลาดไปศึกษาวิชาการในต่างประเทศ
4) มุ่งสร้างองค์กรทางการศึกษา เพื่อการบริหารทางการศึกษาโดยตรง
สาเหตุที่ทำให้เกิดการปฏิรูป
ร.5 ต้องการสร้างคนที่มีความรู้เพื่อเข้ารับราชการช่วยบริหารประเทศให้พัฒนามากขึ้น โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงเรียนหลวงแห่งแรกคือ โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก
การจัดแบบเรียนหลักสูตรและการสอบไล่
การจัดตั้งสถานศึกษาต่างๆ
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6
พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ.2464 ขึ้นเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถอ่านออกเขียนได้
สถาปนาโรงเรียนข้าราชการพลเรือนขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การศึกษาของไทยสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญระยะแรก (พ.ศ.2475 - พ.ศ.2491)
ด้านเศรษฐกิจ
สนับสนุนบรรดานายทุนน้อย ข้าราชการ พ่อค้าแม่ค้ารายย่อยและชาวนาผู้ร่ำรวยเป็นอันดับแรกข้าร่วมในการลงทุน
เป็นรัฐวิสาหกิจ
ด้านสังคม
เกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 ระหว่าง พ.ศ.2484 - พ.ศ.2488
และมีการเกิดกลุ่มคณะราษฎรขึ้น
ด้านการเมืองการปกครอง
มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นราชาธิปไตย ภายใต้รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
ด้านเทคโนโลยี
ทางรถไฟสายภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คมนาคมระหว่างไทยกับอินโดจีน
ด้านการศึกษา
จัดตั้งคุรุสภาขึ้นเป็นสภา
ในกระทรวงศึกษาธิการ
New Normal , Next Normal และยุคดิจิทัล
New Normal
ด้านสังคม
การเว้นระยะห่างทางสังคม (social distancing) รวมถึงการควบคุมการติดเชื้อ
ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal)
ด้านเมือง
มีจากการจลาจลต่อต้านรัฐบาลในประเทศต่างๆ
วิกฤติการเมืองนอกสภา คือ มีการชุมนุมแทบจะรายวัน
วิกฤติการเมืองในสภา คือ ปัญหาการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหาสำคัญที่เกิดจากการหดตัวลงของเศรษฐกิจโลกก็คือ การว่างงานของประชาชน
ด้านการศึกษาและเทคโนโลยี
เกิดการปรับตัวและนำมาซึ่งเทคโนโลยีและนวัตกรรมรูปแบบการศึกษาใหม่ๆ
ปรับรูปแบบการศึกษาออกนอกกรอบ
การจัดการเรียนการสอนทางไกล
On-hand เรียนที่บ้านด้วยเอกสาร
0n-line เรียนผ่านอินเตอร์เน็ต และ
On-demand เรียนผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ
On-air เรียนผ่านมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือ DLTV
ด้านสาธารณสุข
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19
วัคซีนชนิดใช้ไวรัสเป็นพาหะ
วัคซีนที่ทําจากโปรตีนส่วนหนึ่งของเชื้อ
วัคซีนชนิดสารพันธุกรรม
วัคซีนชนิดเชื้อตาย
Next Normal
ด้านสังคม
Stay-at-home Economy สถานการณ์โควิด 19 ส่งผลให้วิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนทั่วโลกเปลี่ยนไป
Touchless Societyจะมุ่งเน้นเรื่องความปลอดภัยและสุขอนามัยเป็นสำคัญ
Regenerative Organic ประเด็นเรื่องความปลอดภัยและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมถือเป็นหัวใจ
ด้านการศึกษา
พัฒนาตัวเองต่อไปในยุคของการส่งผ่านต่อจากวิถีชีวิต New Normal หลังโควิด-19
ด้านการเมือง
โครงการสร้างของสังคมใหม่ๆ ที่จะมีการออกกฎหมายที่ใช้ร่วมกันทั่วโลก
ด้านเศรษฐกิจ
1) การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า (Resolve)
2) การปรับธุรกิจให้มีความยืดหยุ่นทันต่อสถานการณ์ (Resilience)
3) การกลับไปดำเนินธุรกิจตามปกติอีกครั้ง (Return)
4) การคิดใหม่ (Reimagination) และ
5) การปฏิรูปเพื่อก้าวสู่อนาคดที่ดีกว่า (Reform)
ด้านสาธารณสุข
นำไปสู่เส้นทาง EACC The Next Normal โดย EACC จะมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยสามารถรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ยุคดิจิทัล
สิงคโปร์
ประกาศตัวเป็น Smart Nation (สมาร์ทเนชั่น) Smart Country (สมาร์ทคันทรี) คือ ยกระดับทั้งประเทศสู่การเป็น ‘ประเทศอัจฉริยะ’
ขับเคลื่อนด้วย เทคโนโลยีระบบคลาวด์
นโยบายพัฒนาประเทศโด
ยออกแบบจัดวางเป้าหมาย
ระบบสมาร์ทในหลายมิติ
การเดินทาง การคมนาคมที่สมาร์ท
การดูแลสุขอนามัยการแพทย์อัจฉริยะ
การปรับสร้างถิ่นย่านและเมืองอัจฉริยะ
การสร้างแพลตฟอร์มอัจฉริยะของประเทศ
การดำเนินธุรกิจยุคใหม่ใน 4 ส่วนสำคัญ
การสร้างประสบการณ์ให้แก่ลูกค้า
ระบบการเงินใหม่
การพัฒนาทุนมนุษย์
ห่วงโซ่อุปทานในระบบธุรกิจและเศรษฐกิจยุคใหม่
ญี่ปุ่น
ด้านสังคม
ญี่ปุ่นกับการสร้าง “สังคม 5.0”
ด้วยแนวคิดเมืองอัจฉริยะหรือสมาร์ทซิตี้
ด้านการศึกษา
หลักสูตรการเรียน
การสอนระบบการทำงานและวิธีการใช้ AI
หลักสูตรดังกล่าวมีการฝึกปฏิบัติจริงที่เรียกว่า แอนโนเตชั่น
ด้านการแพทย์
การใช้ปัญญาประดิษฐ์หรือ AI
โดยเก็บข้อมูลทางการแพทย์
ขนาดใหญ่ (Big Data)
ด้านธุรกิจการค้า
การพัฒนาและใช้ระบบ
ใบเสร็จอิเล็กทรอนิกส์ในร้านค้าต่าง ๆ
ด้านการเกษตร
ภาวะขาดแคลนแรงงาน
ผลผลิตทางการเกษตรลดลง
ยุคศตวรรษที่ 21 และ ยุค 4.0
ยุคศตวรรษที่ 21
ด้านเศรษฐกิจ
การค้าของโลกจะตกอยู่ภายใต้กติกา WTO (World Trade Organization)
ด้านสังคม
กิดวัฒนธรรมที่มีรูปแบบเหมือนกันมากขึ้น หรือที่เรียกว่า “วัฒนธรรมป๊อบ
การแพร่กระจายที่รวดเร็วนี้เองได้ทำให้โลกในยุคโลกาภิวัตน์กลายเป็นหมู่บ้านโลก
ด้านการศึกษา
หลักสูตรการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช พ.ศ. ๒๕๔๔
เพิ่มความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 8C
ด้านการเมืองการปกครอง
องค์การระหว่างประเทศ บรรษัทข้ามชาติ
ด้านเทคโนโลยี
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นกลไกสำคัญ ข้อมูลข่าวสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจและสังคมเจริญก้าวหน้า
ยุค 4.0
ยุคที่ 3ยุคเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
และการสื่อสาร
มนุษย์ประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ขึ้นพร้อม
ทั้งมีการนำเทคโนโลยีด้านการสื่อสารมาใช้
ยุคที่ 2 ยุคการอุตสาหกรรม
มีการคิดค้นเทคโนโลยีการใช้เครื่องจักรไอน้ำในการทอผ้า
ยุคที่ 4 การปฏิวัติอุตสาหกรรม
ปัญญาประดิษฐ์หรือ Artificial Intelligence (AI) จะมาแทนคน
ยุคที่ 1 ยุคการเกษตรกรรม
การเกษตรได้จึงเปลี่ยนวิถีชีวิตจากการเร่ร่อน ล่าสัตว์ และเก็บพืช ผลไม้ป่าเป็นอาหาร