Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CKD - Coggle Diagram
CKD
เครื่องมือวิจัย
-
-
-
-
7.แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป จำนวน 6 ข้อประกอบด้วย อายุ เพศ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ และโรคประจำตัว
7.แบบประเมินการรับประทานอาหารอย่างง่าย ของสมาคมโรคไตเรื้อรังแห่งประเทศไทย เป็นแบบประเมินปริมาณโซเดียมจากอาหารที่รับประทานใน 1 วันที่ผ่านมา
-
8.แบบบันทึกข้อมูลส่วนตัวประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ สิทธิการรักษา โรคร่วม ผู้ดูแล การใช้ยา พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
8.แบบประเมินผลลัพธ์ทางคลินิก ได้แก่ อัตราการกรองของไต (eGFR) ความดันโลหิต ค่าน้ำตาลสะสม (HbA1C) ไขมัน LDL-c
9.. แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีโซเดียม และแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีโซเดียม
-
16.แบบประเมินปริมาณการบริโภคโซเดียมในแต่ละวัน และการวัดค่าความดันโลหิตเพื่อเป็นข้อมูลก่อนการดำเนินการทดลอง
วัตถุประสงค์
4.เพื่อศึกษาผลของการจัดอาหารโซเดียมต่ำในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีโรคไตเรื้อรังระดับ 3 เปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับการสอนสาธิตอาหารโซเดียมต่ำ และผู้ป่วยที่ได้รับการสอนสุขศึกษาตามปกติ
5.เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการจัดการภาวะนำ้เกิน และการลดลงของอัตราการกรองของไตในผู้ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดแบบไม่ทดแทนไต
7.เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการเสริมสร้างทักษะการจัดการตนเองด้านการรับประทานอาหาร ต่อผลลัพธ์ด้านพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ปริมาณโซเดียมที่บริโภค และการชะลอไตเสื่อม
6.เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจร่วมกับการใช้โค้ชด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีโรคร่วมไตเรื้อรังระยะที่ 3 ต่อการบริโภคโซเดียม ระดับความดันโลหิตและอัตราการกรองของไต
8.เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมอาหารชะลอไตเสื่อมโดยการเปรียบเทียบอัตราการกรองของไต (eGRF) ความดันโลหิต ค่าน้ำตาลสะสม (HbA1C) และไขมัน LDL-c ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ก่อนและหลังการเข้าคลินิกชะลอไตเสื่อมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใหม่
9.เพื่อเปรียบเทียบความรู้ พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีโซเดียม และปริมาณโซเดียมในปัสสาวะของประชาชน ตำบลคูบัว จังหวัดราชบุรี ระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการบริโภค
อาหารลดโซเดียม
13..เพื่อศึกษาแนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังและเพื่อศึกษาผลของการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลโนนสูง
16.เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกระตุ้นการรับรสต่อปริมาณการบริโภคโซเดียมและระดับความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อาเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
กลุ่มตัวอย่าง
-
5.ผู้ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดแบบไม่ทดแทนไตจำนวน 52 คนที่เข้ารับการรักษา ณ คลินิกโรคไตโรงพยาบาลตระการพืชผล หรือโรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร ตั้งแต่เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561 ถึงเมษายน พ.ศ. 2562
6.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีโรคร่วมไตเรื้อรังระยะที่ 3 จำนวนทั้งหมด 39 ราย ที่มาตรวจเลือดประจำปีที่โรงพยาบาลร้องกวาง และรักษาต่อที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเวียง มีค่าอัตราการกรองของไต (Estimate Glomerular Filtration Rate (eGFR)) อยู่ในช่วง 30–59 ml/min/1.73m2
7.คัดเลือกแบบเจาะจง (purposive Sampling) จำนวน 30 คน จากคุณสมบัติที่กำหนด คือเป็นผู้ป่วยไตเรื้อรังที่รับบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม โรงพยาบาลวัดเพลง ที่พบว่าความสามารถในการชะลอการเสื่อมของไตลดลง (อัตราการลดลงของ eGFR<5 ml/min/1.73 m2/ปี) มารับ บริการที่คลินิกอย่างต่อเนื่อง ไม่มีประวัติการขาดนัด โดยใช้ผลการตรวจเลือดประจำปีของผู้ป่วยไตเรื้อรัง ที่มารับบริการตามนัด
-
-
13.ผู้ป่วยไตวายที่รักษาคลินิกชะลอไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลโนนสูง จำนวน 30 ราย ให้การดูแลรักษาโดยใช้การดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง 30 ราย
16.กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่มีผลการประเมินระดับความดันโลหิต Systolic BP ระหว่าง 130-139 และ Diastolic BP ระหว่าง 85-89 มิลลิเมตรปรอท ซึ่งได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ 2563
intervention
-
5.โปรแกรมการสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจร่วมกับการใช้โค้ชด้านสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่มีโรคร่วมไตเรื้อรังระยะที่ 3
6.โปรแกรมการสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจร่วมกับการใช้โค้ชด้านสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงที่มีโรคร่วมไตเรื้อรังระยะที่ 3
7.รูปแบบการเสริมสร้างทักษะในการจัดการตนเองด้านพฤติกรรมการรับประทานอาหารเพื่อการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยไตเรื้อรังคลินิกชะลอไตเสื่อม
-
-
-
-
-
ผลการศึกษา
-
5.ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการจัดการภาวะนำ้เกิน ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ <.01 แต่สัด ส่วนของกลุ่มที่มีค่าอัต ราการกรองของไตลดลงระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองไม่แตกต่างกัน
6.กลุ่มตัวอย่างมีการบริโภคโซเดียมลดลงจาก 1.22 เป็น 0.77 ระดับความดันโลหิตตัวบน มีค่าเฉลี่ยลดลงจาก 133.69 เป็น 127.28 mmHg และระดับความดันโลหิตตัวล่าง มีค่าเฉลี่ยลดลงจาก 82.44 เป็น 78.18 mmHg และมีค่าเฉลี่ยอัตราการกรองของไตเพิ่มขึ้นจาก 51.59 เป็น 53.14 ml/min/1.73m แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
-
8.ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโปรแกรมอัตราการกรองของไต
เฉลี่ย 53.19 มล./นาที/1.73 ตร.ม. ซึ่ง
ค่าการกรองของไตสูงขึ้นความดันโลหิตต่ำลง ไขมันลดลง
อย่างมีนัยสำคัญ
9.
ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีโซเดียม สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารลดโซเดียม
-
13.ผู้ป่วยมีผลลัพธ์ทางคลินิก ได้แก่ค่าการกรองของไต ค่าความดันโลหิต การทำงานของไต ทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
16.ค่าเฉลี่ยปริมาณโซเดียมและระดับความดันโลหิตของกลุ่มทดลองลดลงกว่ากลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ