Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เรื่องราวก่อนสมัยประวัติศาสตร์ดินแดนไทย - Coggle Diagram
เรื่องราวก่อนสมัยประวัติศาสตร์ดินแดนไทย
1.1 หลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
แบ่งตามเทคโนโลยีการทำเครื่องมีอเครื่องใช้
แบ่งตามลักษณะการดำรงชีวิตของผู้คน
ยุคหินเก่ากับยุคหินใหม่หมู่บ้านเกษตรกรรม จาก ชีวิตที่เร่ร่อนเก็บหาอาหาร ล่าสัตว์ เมื่อเย็นค่ําก็หา เพิงผาหรือถ้ําเป็นที่หลับนอน มาเป็นการตั้งถิ่นฐาน ทําการเพาะปลูก และนําสัตว์ป่ามาเลี้ยง ทําให้มีการอยู่รวมกันเป็นชุมชน เป็นหมู่บ้าน
1.2 การขยายตัวของชุมชนในสุวรรณภูมิ
การเคลื่อนย้ายอพยพของกลุ่มชน
ที่อาศัยอยู่มาตั้งแต่ยุคหิน
กลุ่มชนอื่นอพยพจากภายนอกเข้ามาตั้งหลักแหล่ง
1.4 การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์
1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์
ความต้องการความมั่นคงในการดํารงชีวิตประจําวันในเรื่องอาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค
2.สภาพภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม เช่น การเกิดภัยธรรมชาติ โรคระบาด
คติความเชื่อ เช่น ความตาย ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ
2) การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์
ด้านเกษตรกรรม
ด้านโลหกรรม
ด้านหัตถกรรม
ด้านการรักษาโรค
ด้านการสร้างที่อยู่อาศัย
1.3 พัฒนาการของชุมชนโบราณในภาคต่าง ๆ ของไทย
พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคใต้
บริเวณภาคใต้เป็นแหล่งที่มีมนุษย์อาศัยอยู่ตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์
ชุมชนยุคหินใหม่
จ.กระบี่และพังงา
พบภาชนะดินเผาและขวานหินขัด
ชุมชนยุคสําริด
จ.กระบี่
พบภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ชุมชนยุคหินกลาง
จ.กระบี่
พบเครื่องมือยุคหินเก่า
ชุมชนยุคหินเก่า
จ.กระบี่
พบเครื่องมือขุด สับ ตัด
ชุมชนยุคเหล็ก
อ.คลองท่อม จ.กระบี่
พบลูกปัดพื้นเมือง
พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคเหนือ:
ภูมิประเทศส่วนใหญ่บริเวณ ภาคเหนือของไทยเป็นทิวเขา ภูเขา หุบเขา และที่ราบระหว่างภูเขา และ เป็นต้นกําเนิดแม่น้ําหลายสาย เช่น ปิง วัง ยม น่าน และจากหลักฐานทางโบราณคดีแสดงให้เห็นว่าพัฒนาการช้ากว่าภูมิภาคอื่น
ชุมชนยุคหินเก่า
ถ้ำผีแมน จ.แม่ฮ่องสอน
พบเครื่องมือหิน ใบหอกหิน
ชุมชนยุคหินกลาง
ถ้ำผีแมน จ.แม่ฮ่องสอน
พบเครื่องมือขุด สับ ตัดขนาดใหญ่
ชุมชนยุคหินใหม่
ลุ่มแม่น้ำ เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
พบเครื่องมือยุคหินใหม่
ชุมชนยุคสําริด
แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์
พบร่องรอยชุมชนกสิกรรม
ชุมชนยุคเหล็ก
แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์
พบแหล่งชุมชนโบราณ
พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พื้นที่ ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบสูงที่ยกตัวสูงทางตะวันตกและลาดเอียงไปทาง ตะวันออกลงสู่แม่น้ําโขง มีแม่น้ําชีและ แม่น้ํามูลไหลผ่าน ชุมชนในภาคนี้จะเก่าแก่กว่าภาคอื่นๆ สมัยก่อนประวัติศาสตร์มีสภาพภูมิศาสตร์เหมาะสมกว่าแหล่งอื่น
ชุมชนยุคเหล็ก
ชุมชนโบราณบ้านเชียง จ.อุดรธานี
เป็นผู้นำการใช้เหล็กก่อนที่อื่น
ชุมชนยุคสําริด
อ.หนองหาน จ.อุดรธานี
พบภาชนะดินเผา โครงกระดูกมนุษย์และสัตว์
ชุมชนยุคหินใหม่
อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น
พบภาชนะดินเผา
ชุมชนยุคหินกลาง
อ.เชียงคาน จ.เลย
อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร
เครื่องมือขุด สับ ตัด
ชุมชนยุคหินเก่า
อ.เชียงคาน จ.เลย
อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร
พบเครื่องมือหินกะเทาะ
เครื่องมือขุด สับ ตัด
พัฒนาการของชุมชนโบราณบริเวณภาคกลาง
ชุมชนโบราณสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ในภาคกลาง ส่วนใหญ่จะพบอยู่ตามฝั่งตะวันออกและตะวันตกของภาค
ชุมชนยุคสําริด
หนองโน อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
พบหลุมศพจำนวนมาก
ชุมชนยุคเหล็ก
ดอนตาเพชร อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี
พบหลุมศพบรรจุสิ่งของฝั่งรวมกัน
ชุมชนยุคหินกลาง
หนองโน อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
พบเครื่องมือหิน เครื่องปั้นดินเผา
ชุมชนยุคหินใหม่
บ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
พบโครงกระดูกมนุษย์ ขวานหินขัด
ชุมชนยุคหินเก่า
ถ้ำพระ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี
พบเครื่องมือหินที่เป็นเครื่องมือขุด,สับ,ตัด