Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กายภาพภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ - Coggle Diagram
กายภาพภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
ที่ตั้งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้ง
อยู่ระหว่างละติจูดที่ 28°เหนือ ถึง 11°ใต้
มี 11 ประเทศคือ ไทย เมียนมา ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย บรูไนดารุสลาม อินโดนีเซีย สิงคโปร์
ฟิลิปปินส์และติมอร์-เลสเต
สามารถแบ่งได้
ออกเป็น 2 ส่วน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป
(Mainland Southeast Asia)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร
(Insular Southeast Asia)
ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาค
ภูมิประเทศ
เทือกเขา
แผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย
และแผ่นเปลือกโลกอินโด-ออสเตรเลีย
มีแนวรอยเลื่อนนี้ทำให้เกิดแนวเทือกเขา
และหมู่เกาะและภูเขาไฟ
เช่น เทือกเขาปัตไก่ เทือกเขาอาระกันโยมา
ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาถนนธงชัย เทือกเขาอันนัม
ภาคพื้นสมุทร
แนวเทือกเขาที่สำคัญ เช่น เทือกเขาบาริซัน บนเกาะสุมาตรา
ภูเขาไฟปะทุอยู่เป็นประจำแต่ก็ทำให้หินบริเวณนี้
ประกอบไปด้วยแร่ธาตุและมีดินที่อุดมสมบูรณ์
ที่ราบลุ่มแม่น้ำ
มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์อาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
ไทยมีที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาที่มี
ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจ
แม่น้ำที่สำคัญคือ
แม่น้ำอิระวดี
ซึ่ง
เป็นแหล่งเพาะปลูกข้าว
ภาคใต้ของประเทศไทยลงไปจะเป็นที่ราบแคบ ๆ ติดทะเลทั้ง
สองฝั่งโดยมีภูเขาเป็นแกนกลางของแผ่นดิน
อ่าวและคาบสมุทร
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มี 2 คาบสมุทรที่สำคัญ คือ
คาบสมุทรอินโดจีน
มีประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม และ
คาบสมุทรมลายู
ซึ่งครอบคลุมภาคใต้ของประเทศไทยไปจนถึงมาเลเซีย
ทะเลและมหาสมุทร
ทะเลอันดามัน
ซึ่งถูกปิดล้อมด้วยหมู่เกาะ
อันดามัน และหมู่เกาะนิโคบาร์ทะเลจีนใต้
ทะเลจีนใต้
เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญระหว่างจีน
เวียดนาม ฟิลิปปินส์ และไต้หวัน
ทะเลอาราฟูรา
ที่กั้นประเทศอินโดนีเซียกับประเทศออสเตรเลีย
ช่องแคบ
ช่องแคบมะละกา
อยู่ระหว่างปลายคาบสมุทรมลายู
กับเกาะสุมาตรา
ช่องแคบซุนดา
อยู่ระหว่างเกาะสุมาตรากับเกาะชวา
ช่องแคบลอมบอก
อยู่ระหว่างเกาะบาหลีกับเกาะลอมบอก
ช่องแคบมากัซซาร์
อยู่ระหว่างเกาะบอร์เนียวและเกาะสุลาเวส
เกาะและหมู่เกาะ
เกาะที่สำคัญของอินโดนีเซีย ได้แก่ เกาะนิวกินี เกาะสุมาตรา เกาะสุลาเวสี(เกาะเซเลบีส) เกาะบาหลีหมู่ เกาะโมลุกกะ เกาะติมอร
ภูมิอากาศ
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
พัดในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนตุลาคม
นำความชื้นจากทะเลและนำฝน
มาตกบนภาคพื้นทวีป
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
พัดในช่วงพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์
นำความแห้งแล้งมา
จากที่ราบสูงทิเบต
ภูมิอากาศ
เป็น 2 เขต
เขตร้อน
ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น (Af)
ฝนตกตลอดปีและมีอุณหภูมิสูง พบบริเวณ
ประเทศมาเลเซีย หมู่เกาะที่อยู่ใกล้เขตศูนย์สูตร
ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Am)
มีฝนตกประมาณ 8 – 10 เดือนต่อปีและมี
อุณหภูมิสูง พบในภาคใต้ของไทย
ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสลับแล้ง (Aw)
ฝนตกประมาณ 4 - 6 เดือนต่อปีและมี
อุณหภูมิสูง พบในพื้นที่ส่วนใหญ่ของบริเวณภาคพื้นทวีป
เขตอบอุ่น
อยู่ในบริเวณทางตอนเหนือของเมียนมา ลาว
และเวียดนาม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ป่าไม้
เป็น
ป่าฝนเขตร้อน
(Tropical Rainforest)
น้ำ
แหล่งทรัพยากรน้ำที่สำคัญ คือ
แม่น้ำโขง แม่น้ำสาละวิน
มีแหล่งกำเนิดมาจากประเทศจีน
แม่น้ำเจ้าพระยา
ซึ่งเกิดจากทางภาคเหนือของประเทศไทย
ดิน
เกษตรกรรมในที่ลุ่ม
พบในทางตอนใต้ของประเทศเมียนมา ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ผลผลิตคือข้าว
การปลูกพืชสวน
ทำการเกษตรที่พบในพื้นที่คาบสมุทรและหมู่เกาะ
เกษตรกรรมในที่สูง
นาขั้นบันไดบานาเว เกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์
พลังงาน
มีแก๊สธรรมชาติที่พบมากในทะเลโดยอินโดยนีเซียเองเคยเป็นส่วนหนึ่งของ
กลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน (OPEC)