Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายในเด็ก - Coggle Diagram
การตรวจร่างกายในเด็ก
การวัดสัญญาณชีพในเด็ก
การนับอัตราการหายใจการนับอัตราการหายใจในเด็กที่อายุต่้ากว่า 7 ปี จะดูการเคลื่อนไหวขึ้นลงของบริเวณหน้าท้องโดยการนับการหายใจเข้า-ออก เป็น 1ครั้ง และนับเต็ม 1 นาทีสังเกตแบบของการหายใจว่าจังหวะการหายใจสม่้าเสมอหรือไม่ ความลึก
ความแรง หายใจสะดวกหรือไม่ หายใจมีเสียงผิดปกติหรือไม่
การนับชีพจร บริเวณขมับ ซึ่งเป็นต้าแหน่งที่สะดวกที่สุดหรืออาจจะใช้หูฟังนับอัตราการเต้นของ เอพิคัล พัลส(apical pulse)
-
การวัดอุณหภูมิ การวัดอุณหภูมิร่างกายมีได้ 5 วิถีทาง คือ ทางปาก รักแร้ ผิวหนัง ทวารหนักและ tympanic membraneอุณหภูมิร่างกายปกติจะอยู่ระหว่าง 36.8 – 37.4 องศาเซลเซียส
-
การชั่งน้้าหนัก แล้วนำเปรียบเทียบกับ Growth chart ได้แก่ ความสูงเทียบกับอายุ ซึ่ง เป็นเครื่องชี้
ภาวะโภชนาการระยะที่ผ่านมา ว่าส่วนสูงเหมาะสมกับอายุหรือไม่
การตรวจผิวหนัง เทคนิคที่ใช้ในการตรวจ คือ ดูและคล้า เพื่อตรวจสีผิว ความยืดหยุ่น อุณหภูมิความชุ่ม ชื้น และลักษณะผิดปกติต่างๆ
การตรวจเล็บเทคนิคการตรวจ คือ ดูและคล้า เพื่อดูลักษณะเล็บ สีรูปร่าง มุมระหว่างเล็บ เนื้อที่หุ้มรอบเล็บ และค้นหาความผิดปกติต่างๆ เช่น นิ้วปุ้ม (clubbing finger)
-
การตรวจศีรษะคล้าดูรอยต่อ
ของกะโหลกศีรษะ ดูและคล้าขม่อมหน้าและขม่อมหลัง ขม่อมหน้าควรจะนุ่ม แบน เต้นเป็นจังหวะตามการเต้นของชีพจร
การตรวจคอ สังเกตดูคอว่ามีบวม คอเป็นปีก (webbing) และหลอดเลือดด้าข้างคอโป่งพองหรือไม่ ถ้ามีคอบวม อาจจะเป็นคางทูมหรือมีการติดเชื้อที่ปากและคอ
การคล้าท่อหลอดลม (trachea)โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางแยงที่suprasternal notch และเลื่อนนิ้วมือขึ้นลงขณะที่คอเด็กแหงนเล็กน้อย ท่อหลอดลมควรอยู่ตรงกลาง
การตรวจต่อมน้้าเหลืองเทคนิคการตรวจ คือ ดูและคล้า โดยดูว่ามีก้อนนูนโตหรือไม่ กดเจ็บหรือไม่ ถ้าพบก้อนนูน
โตยืนยันด้วยการคล้า
การตรวจตา เพื่อประเมินความสามารถในการ
มองเห็น การเคลื่อนไหวของลูกตา ความสมมาตร สีของ sclera และ pupill
การตรวจหู ดูความสะอาด ลักษณะรูปร่าง ตำแหน่งแต่ถ้าส่วนบนของใบหูอยู่ต่้ากว่าระดับหางตา พบในเด็กที่มีความ
ผิดปกติทาง chromosome ที่เรียกว่า down syndrome
การตรวจปากและช่องปากสังเกตดูริมฝีปากมีสีเขียวคล้้า ซีด หรือมีแผล เช่น แผลเริม แผลที่มุมปากทั้งสองข้าง (โรคปากนกกระจอก)แผลในช่องปาก หรือไม่ ความพิการต่างๆ
การตรวจทรวงอก สังเกตรูปร่าง ลักษณะของทรวงอก (ผิดปกติเช่น Barrel chest หรือ อกถังเบียร์ พบในเด็กโรคปอดเรื้อรัง Pigeon chest หรือ อกไก่ พบได้ในเด็กหัวใจโต ขาดวิตามินดี)
การตรวจปอด สังเกตการหายใจว่าสม่้าเสมอ ติดขัดหรือยากล้าบากหรือไม่ ลักษณะการบุ๋ม
(retraction) ของช่องซี่โครงขณะหายใจเข้าซึ่งเป็นลักษณะของอาการหายใจล้าบาก
การตรวจหัวใจ การดู สังเกตสีผิวบริเวณทรวงอก ปลายมือปลายเท้า ฝ่ามือ เล็บ และเยื่อบุเปลือกตา
ล่าง ว่ามีซีดหรือเขียวคล้้าหรือไม่ สังเกตนิ้วปุ้มมีหรือไม่
การตรวจกล้ามเนื้อและกระดูกสังเกตการเล่นของเด็กจะได้ข้อมูลส้าคัญของลักษณะกระดูก
และกล้ามเนื้อ เด็กที่สามารถเดินได้ให้สังเกตลักษณะการเดิน
การตรวจระบบประสาทประเมินระดับความรู้สึกตัว ประเมินในทารกและเด็กเล็กจะประเมินได้ยาก ให้สังเกตการ
ตอบสนองของเด็กต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัวเช่น การยิ้มให้แม่ การเล่นกับผู้ตรวจ