Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 นำเสนอองค์ความรู้สู่การแก้ปัญหา - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
นำเสนอองค์ความรู้สู่การแก้ปัญหา
วิธีออกแบบเพื่อนำเสนอต้องทำอย่างไร
ความหมาย ความสำคัญ
ประโยชน์ของการออกแบบนำเสนอ
การออกแบบนำเสนอ หมายถึงการคิดหาวิธีการเพื่อชี้แจงแสดงแนวคิด ข้อค้นพบ หรือองค์ประกอบต่อผู้ฟัง ผู้อ่าน หรือผู้ชมเพื่อให้ทราบหรือดำเนินการอื่นๆ
การนำเสนอมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
การต้อนรับ
การสรุป
การประชาสัมพันธ์
การส่งมอบ
การขาย
การแนะนำผลิตภัณฑ์
การเจรจาตกลง
การสอนงาน
การเจรจาต่อรอง
การรายงาน
การฝึกอบรม
ประโยชน์ของการออกแบบนำเสนอ คือ การได้นำวิธีการนำเสนอที่หลากหลาย สามารถเลือกให้เหมาะสมกับสิ่งที่จะนำเสนอหรือสถานการณ์ต่างๆได้
รูปแบบและวิธีการนำเสนอ
การนำเสนอด้วยการพูด
เป็นการพูดบรรยาย หรืออธิบายเรื่องหนึ่งต่อหน้าผู้อื่น โดยมีวัตถุประสงค์ในการพูดที่ชัดเจน
การนำเสนอด้วยสื่อต่างๆ
เป็นการใช้สื่อต่างๆ เช่น เอกสาร โปสเตอร์ คลิปวิดีโอ โดยส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อเชิญชวนเเจ้งให้ทราบและนำเสนอผลงาน
เทคนิคการนำเสนอ มีดังนี้
มีความเป็นมืออาชีพ
มีบุคลิกที่ดี
มีจุดประสง์ที่ชัดเจน
มีความยืดหยุ่น
มีการตรวจสอบอุปกรณ์
มีการวางแผนสำรอง
แนวคิดสัมพันธ์กับการแก้ปัญหาพัฒนาสังคมอย่างไร
ความหมายและความสำคัญของแนวคิด
แนวคิด หมายถึง ความคิดที่มีเเนวทางปฏิบัติ โดยเกิดขึ้นจากความรู้หรือข้อเท็จจริงรวมถึงทักษะและความเข้าใจที่ได้จากการเรียนรู้และประสบการณ์
ประกอบไปด้วย 5 ลักษณะ ดังนี้
รู้ว่าคืออะไร เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริงในลักษณะข้อมูล
รู้ว่าทำไปทำไม เป็นความรู้เชิงวิทยาศาสตร์ที่แสดงเหตุผลและแก้ปัญหาซับซ้อน
รู้ว่าทำอย่างไร เป็นทักษะและความสามารถในการกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
รู้ว่าใครมีความรู้อะไร เป็นข้อมูลว่าใครมีความรู้อะไร เกี่ยวข้องสัมพันธ์ทางสังคมอย่างไร
รู้ว่าทำเพราะต้องการทำ เป็นความรู้เชิงความคิดริเริ่มทางสร้างสรรค์
ประโยชน์ของแนวคิด
แนวคิดสามารถนำไปใช้โดยตรงหรือประยุกต์ใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
ประโยชน์ของแนวคิดมีทั้งประโยชน์แก่ตนเอง ประโยชน์แก่ผู้อื่น และประโยชน์แก่สังคม
ลักษณะของแนวคิด
วิธีการ
ขั้นตอน
กระบวนการ
รูปแบบ
ข้อแนะนำ
เทคนิค
ข้อสังเกต
การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบควรทำอย่างไร
ปัญหาและประเภทของปัญหา
ปัญหา หมายถึง ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เป็นอยู่กับสิ่งที่ต้องการหรือมาตรฐานที่วางไว้
ประเภทของปัญหาเป็น 2 ประเภทดังนี้
ปัญหาที่มีโครงสร้างสมบูรณ์
เป็นปัญหาที่กำหนดรายละเอียดไว้อย่าชัดเจน ครบถ้วน
ปัญหาที่มีโครงสร้างไม่สมบูรณ์
เป็นคำถาม เหตุการณ์ หรือสถานการณ์ที่ไม่ชัดเจน ไม่มีการระบุรายละเอียด
การแก้ปัญหา หมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนที่ผ่านการวิเคราะห์และสังเคราะห์ โดยอาศัยความรูู้และประสบการณ์
แนวคิดในการแก้ปัญหา
มีหลักการสำคัญ ดังนี้
ค้นหาจากความคิดเด่นๆ
ค้นหาวิธีการที่แตกต่างออกไป
ปล่อยวางความคิดแบบยึดติด
ให้โอกาสตนเองในการเปิดรับความคิดผู้อื่น
กระบวนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
วิเคราะห์ปัญหา
ศึกษาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
เก็บรวบรวมข้อมูลให้มากที่สุด
หาทางแก้ปัญหาที่หลากหลาย
เลือกวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
วางแผนการใช้วิธีแก้ปัญหา
ดำเนินการแก้ปัญหา
ตรวจสอบปรับปรุงประเมินผล
แนวคิดช่วยแก้ปัญหาได้อย่างไร
วิเคราะห์สภาพปัญหา
บุคคลที่จะแก้ปัญหาควรศึกษา แยกแยะ และจัดหมวดหมู่ปัญหาให้ชัดเจน
พิจารณาวัตถุประสงค์การนำข้อค้นพบไปใช้
เพื่อการป้องกัน
เพื่อการแก้ไข
เพื่อการพัฒนา
ออกแบบการนำองค์ความรู้ไปใช้
วัตถุประสงค์
บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
เวลาและโอกาส
สถานะและความสามารถของบุคคล
งบประมาณ
จัดทำแผนปฏิบัติการและลงมือปฏิบัติ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติการ
รูปแบบแผนปฏิบัติการ
ติดตามและประเมินผลการใช้องค์ความรู้แก้ปัญหา
การสังเกต
การสอบถาม
การสัมภาษณ์