Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case 1 ผู้ป่วยหญิง อายุ 30 ปี - Coggle Diagram
Case 1 ผู้ป่วยหญิง อายุ 30 ปี
CC : 1 วันก่อนมา มาด้วยอาการปวดข้อมือขวา
PI : 1 สัปดาห์ก่อน มีอาการปวด บวมบริเวณข้อมือขวา ปวดมากบริเวณนิ้วหัวแม่มือขวา เวลาขยับนิ้วหัวแม่มือไปมาจะปวดมาก โดยเฉพาะเวลาทำงานโดยการใช้มือพิมพ์งานซ้ำๆจะมีอาการมากขึ้น เมื่อรับประทานยาแก้ปวดอาการจะทุเลาลงแต่ไม่หายขาด มีอาการบวม แดงเล็กน้อย
PH : ผู้ป่วยปฏิเสธโรคที่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม และโรคกลุ่ม NCDs
พฤติกรรมอนามัยและพฤติกรรมเสี่ยง ปฏิเสธการดื่มแอลกอฮอล์
ให้ข้อมูลสูบบุหรี่มา 15 ปี และ ผู้ป่วยปฏิเสธการแพ้ยา
ประเมินจิตสังคม : การแต่งกาย ทรงผม ปกติ สามารถสื่อสาร สื่อความคิดได้ปกติ
การแสดงออกทางอารมณ์เหมาะสม มีการรับรู้เวลา สถานที่ บุคคล ปกติ
รับรู้สิ่งที่เกิดขึ้น และความเจ็บป่วยที่ผู้ป่วยเป็น รวมทั้งผลกระทบต่อการเจ็บป่วยของตนเอง
:
Differential diagnosis
Carpal Tunnel Syndrome (CTS)
สาเหตุ
มีการกดทับของเส้นประสาท Median Nerve
ไฮโปไทรอยด์
รูมาตอยด์
ทำงานที่ใช้มือท่าเดิมซ้ำๆ
การบาดเจ็บของข้อมือและมีกระดูกงอก
อาการ
ปวดเมื่อย หนักๆ ที่ข้อมือ ปวดตื้อๆ พบ Referred pain แขนไปถึงสะบัก ปวดมากเวลากลางคืนและเวลาตื่นนอนตอนเช้า
ชาที่นิ้ว เริ่มชานิ้วกลาง นิ้วชี้ นิ้วหัวแม่มือ และครึ่งหนึ่งของนิ้วนาง ยกเว้นนิ้วก้อย
รายที่รุนแรง อาจพบกล้ามเนื้อออ่อนแรงและลีบเล็กบริเวณโคน นิ้วหัวแม่มือ
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ความรู้สึกลดลง
การตรวจ Tinel’s sign (รู้สึกเสียวแปล๊บไปที่นิ้วกลาง,
นิ้วชี้, นิ้ว หัวแม่มือ)
การตรวจ Phalen’s test (รู้สึกเสียวแปล๊บ, ปวด, ชาไปที่นิ้วกลาง, นิ้วชี้, นิ้ว หัวแม่มือ)
การตรวจ Durkan’s test (รู้สึกปวด, ชาไปที่นิ้วกลาง, นิ้วชี้, นิ้วหัวแม่มือ)
การซักประวัติ
มีอาการปวด ชา นิ้วมือ?
ทำงาน ?
ปวดมากตอนไหน?
การบาดเจ็บของข้อมือ?
Electrodiagnosis (EMG/NCV) พบความเร็วในการนำกระแสประสาท ของmedian nerve ลดลง
การรักษา
Specific treatment :
-การผ่าตัด deep transverse carpal ligament เพื่อคลายการกดรัดของเส้นประสาท median
Symptomatic treatment :
-ให้ยากลุ่ม NSAID
เช่น Ibruprofen(400)1x3oral pc,Diclofenac(25)1x3 oral pc
-การฉีด corticosteroid บริเวณ carpal tunnel
-ใส่splint ในรายที่มีอาการปวดตอนกลางคืน
Supportive treatment :-
คำแนะนำ
พักการใช้งานมือและข้อมือ
De quervain’s disease
อาการ
ปวดเพิ่มมากขึ้นเมื่อ pt. ทำกิจกรรมที่มีการขยับนิ้วหัวแม่มือซ้ำๆ
ปวดบริเวณด้านข้างข้อมือบริเวณโคนนิ้วหัวแม่มือ (Radial sided wrist pain)
บวมบริเวณข้อมือด้านนอกบริเวณโคนนิ้วหัวแม่มือขยับนิ้วโป้งและข้อมือลำบาก
บวม แดง ร้อน บริเวณ radial styloid และด้านนอกของบริเวณ anatomical snuffbox ซึ่งตรงกับ first extensor compartment
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
อาการปวดบริเวณด้านข้างข้อมือ บริเวณโคนนิ้วหัวแม่มือ
อาการปวดร้าวไปที่บริเวณแขนท่อนปลาย/ปลายนิ้วหัวแม่มือ
อาการปวดเพิ่มมากขึ้นเมื่อผู้ป่วยทำกิจกรรมที่มีการขยับนิ้วหัวแม่มือซ้ำๆ
ตรวจร่างกาย
Tenderness บริเวณปุ่มกระดูก radial styloid
บวมปลาย radius
Finkelstein’s tast -> +ve
Tinel’s test, Phalen & modified phalen test -> -ve
Inspection : Lateral thenar atrophy. Abnormal mass at wrist crease. Swelling at hand and finger. Moving mass along the flexor tendon. ROM.
Sensory testing : 2 point discrimination Motor testing : APB power
Palpation : Area of tenderness, mass. Special
การตรวจพิเศษ
การตรวจทางรังสี
Magnetic resonance imaging
Ultrasound
Bone scanning
สาเหตุ
ใช้มือทำงานบ่อยๆ ซ้ำๆ และข้อมืออยู่ในท่าที่ไม่ถูกต้อง
โรคประจำตัว ex. Rheumatoid
การรักษา
แบบประคับประคอง
หลีกเลี่ยง/พักการใช้งานของนิ้วหัวแม่มือ
การใช้อุปกรณ์พยุงข้อมือใส่ทั้งวันและกลางคืนนาน 2 wks ต่อเนื่อง 6-8 wks
การฉีด corticosteroid
ทานยา NSAID เป็นระยะเวลา 6-8 wks
กายภาพบำบัด
การออกกำลังกาย
การยืดกล้ามเนื้อแบบคงค้าง (static stretching exercise)
ออกกำลังกายเพิ่มค.แข็งแรงของกล้ามเนื้อ (strengthening exercises)
ผ่าตัด
Osteoarthritis
อาการ
ปวดข้อในข้อเรื้อรังเป็นแรมเดือนแรมปี
มีเสียงดังกรอบแกรบ Crepitation ขณะเคลื่อนไหว
ปวดมากเวลาใช้งาน
บวม แดง
ข้อฝืดตึงตอนเช้า
ดีขึ้นเมื่อพักข้อ
สาเหตุ
ข้อเสื่อมตามวัย ( หญิง > ชาย )
อายุมากมีโอกาสเกิดมาก
พันธุกรรม เช่น โรคข้อเสื่อม มะเร็งกระดูก
ฮอร์โมน
การใช้งานมากเกินไป
อาชีพ
การวินิจฉัย
PE: ข้อบวม ผิดรูป กดเจ็บ
CXR พบ ผิวข้อแคบลง ช่องแคบไม่สม่ำเสมอและมีการกร่อนของกระดูก
การรักษา
Specific treatment : -
Symptomatic treatment:
Paracetamol (500mg) 1 tab oral prn q 4-6 hr. หรือ
NSAIDs > Ibuprofen (400mg) 1 tab tid pc ไม่เกิน 5วัน
ผ่าตัด
Supportive treatment: -
คำแนะนำ
ถ้าปวด แนะนำให้พักการใช้งานที่ข้อ ประคบน้ำร้อนและกินยาแก้ปวด
หลีกเลี่ยงอาการที่ทำให้ปวด เช่น การใช้งานที่ข้อ
ถ้ามีอาการปวดชา ร้าวไปที่แขน ให้รีบไปโรงพยาบาล
ออกกำลังกาย ขยับนิ้วมือ โดย งอ เหยียด
Final diagnosis
คำแนะนำ
1.หลีกเลี่ยงการเคลื่อนไหวของมือ เช่น การหยิบของหนัก การเขียน หรือการบิดหมุนข้อมือ ควรให้ข้อมืออยู่ในแนวระนาบเดียวกับแขน
ประคบเย็นด้วยผ้าห่อน้ำแข็งบริเวณที่อักเสบนาน 20นาที ทำซ้ำทุก ๆ 2-3 ชั่วโมง
3.ใช้ผ้าพันแผลพันรอบ ๆ เพื่อรองรับข้อต่อและเอ็นกล้ามเนื้อบริเวณนั้นๆ
4.พยายามยกส่วนของร่างกายที่มีอาการให้อยู่ในระดับสูงโดยใช้หมอนหนุนไว้เมื่อนั่งหรือนอนลง
5.ป้องกันการบวมของบริเวณที่อักเสบในช่วง 2-3 วันแรก ด้วยการหลีกเสี่ยงความร้อน เช่น น้ำอุ่น หรือถุงน้ำร้อน รวมทั้งการดื่มแอลกอฮอล์และการนวดบริเวณปวด
6.เมื่อเริ่มเคลื่อนไหวเอ็นกล้ามเนื้อได้โดยไม่รู้สึกเจ็บ ให้ พยายามออกการเคลื่อนไหวบ่อย ๆ ป้องกันการฝืดติดของ เอ็นที่เกิดขึ้นจากการไม่ได้เคลื่อนไหว
การรักษาแบบ Symptomatic
Ibruprofen(400)1x3 oral pc
Diclofenac(25)1x3 oral pc
Paracetamol (500) 1-2 tab oral PRN4-6 hrs.
De quervain’s disease
Lab เพิ่ม
CXR
Electrodiagnosis (EMG/NCV)
PE
ผลตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
Eyes : Conjunctival pallor
Hand and wrists :
-Minimal swelling and tenderness of radial styloid at right hand
-Finkelstein’s test Positive
ซักประวัติเพิ่ม
PI :
1.ปวด ชาบริเวณไหน เคยปวด ชาแบบนี้มาก่อนไหม เป็นมานานแค่ไหน
2.ตอนเริ่มเป็นเป็นอย่างไร เช่น เป็นๆหายๆ ค่อยๆเป็น หรือเป็นทันทีเลย
3.ปวดมากไหม มักปวดมากเวลาใด
4.ถ้าปวดแล้วทำอะไรให้หายปวดน้อยลง เช่น ไปซื้อยาแก้ปวดกินแล้วอาการดีขึ้นไหม
5.มีอาการอื่นร่วมด้วยไหม เช่น ไข้ ไอ ปวดตรงที่อื่นร่วมด้วยไหม
6.การปวดส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันไหม เคลื่อนไหวได้ตามปกติไหม
PH :
1.ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวไหม
2.มีแพ้ยาแพ้อาหารไหม
3.ประวัติการประสบอุบัติเหตุ
4.ประวัติการผ่าตัด