Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายและแผนพัฒนาสาธารณสุข, นางสาวกรรภิรมย์ อินธรรม รหัสนักศึกษา…
นโยบายและแผนพัฒนาสาธารณสุข
สภาพปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
1.ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระบบสุขภาพ
สังคมผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น > มีการป่วย มีภาระค่าใช้จ่ายทางสุขภาพ มีภาวะพึ่งพา สูง
วัยแรงงานลดลง > แรงงานต่างชาติ > โรคมาลาเรีย วัณโรค เพศสัมพันธ์
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ขยะมูลฝอย
มูลฝอยชุมชน, มูลฝอยจิดเชื้อจากรพ./ชุมชนม, การใช้สารอันตรายโดยเฉพาะภาคอุตาสาหกรรม, มลพิษทางอากาศ(PM 2.5)
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ > การเกิดผลกระทบต่อการเกิดโรคติดต่อทั้งคนและสัตว์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การเชื่อมต่อการค้าอย่างไร้พรมแดน > แรงงานต่างด้าว > นำพาโรคเข้ามา/แรงงานผิดกฎหมาย
2.สถานะสุขภาพประชาชนไทย
3.ปัญหาสุขภาพประชาชน
โรคที่มีอุบัติการณ์เพิ่มขึ้น
โรคไม่ติดต่อ/โรคเชื้ออุบัติใหม่/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์/วัณโรค/เอดส์
โรคที่มีอุบัติการณ์ลดลง
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน/โรคมาลาเรีย
สถานการณ์ทางสุขภาพจิต
4.ปัจจัยเสื่ยงสำคัญ
พฤติกรรมดื่มแอลกอฮอล์/การบริโภคยาสูบ/อุบัติเหตุ/โรคภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
หลักการของแผน
1.หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเพื่อให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดu
3.ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579 ควบคู่กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs = Sustainable Development Goals)
4.ปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0
5.ประเด็นการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
6.ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 2
7.กรอบแนวทางแผนระยะ20ปีด้านสาธารณสุข
ระบบสุขภาพพอเพียง
มีรากฐานที่เข้มแข็งจากการมีความพอเพียงทางสุขภาพในระดับครอบครัวและชุมชน
มีความรอบคอบและรู้จักประมาณอย่างมีเหตุผลในด้านการเงินการคลังเพื่อสุขภาพในทุกระดับ
มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและใช้อย่างรู้เท่าทัน โดยเน้นภูมิปัญญาไทยและการพึ่งตนเอง
มีบูรณาการด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรครักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพและคุ้มครองผู้บริโภค
มีระบบภูมิคุ้มกันที่ให้หลักประกันและคุ้มครองสุขภาพ
มีคุณธรรม จริยธรรมคือซื่อตรง ไม่โลภมาก และรู้จัก
พอ
พันธกิจ
เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและภาคประชาสังคม ในการอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทยให้เข้มแข็ง รองรับกับบริบทของการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก ( P : Health Promotion + Disease Prevention +Consumer & Environment
Protection Exellence or P&P Exellence)
ระดับพัฒนาการเด็กไทยสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
10เฉลี่ยเด็กไทยไม่ต่ำกว่า 100
EQเด็กไทยสูงกว่าคะแนนมาตรฐานร้อยละ 70
อัตราเสียชีวิตจากบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 16 ต่อแสน
อัตราตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCD ลดลง
อัตราของ Healthy Ageing เพิ่มขึ้น (ADL >12คะแนน)
อัตราเจ็บป่วยต่อผลิตภัณฑ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมลดลง
ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทยเพิ่มขึ้น
พฤติกรรมสุขภาพของคนไทย(เพิ่มขึ้พร้อยละ 5)
9.1 อัตราการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น
9.2 อัตราการบริโภคผักและผลไม้เพิ่มขึ้น
9.3 ความชุกของการสูบบุหรี่และบริโภคแอลกอฮอล์สดลง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สร้างความเป็นธรรม ลดการเหลื่อมล้ำ
ในระบบบริการสุขภาพ (Service Exellence)
1.ความครอบคลุมของหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวร้อยละ 100
2.จำนวนศูนย์แพทย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง 4 สาขาหลัก (มะเร็ง หัวใจ อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด)ครบทั้ง 12 เขต
อัตราส่วนเตียงต่อประชากรรวมทั้งประเทศและการกระจายระหว่างพื้นที่
ระยะเวลารอคอยในการรับการรักษาพยาบาลที่แผนกผู้ป่วยนอกลดลงร้อยละ 30
อัตราการส่งต่อออกนอกเขตสุขภาพลดลงร้อยละ 50
ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ (People Exellence)
อัตราส่วนกำลังคนด้านสุขภาพต่อประชากร
แพทย์ 1: 1800
ทันตแพทย์ 1:6500
เภสัชกร 1: 3500
พยาบาลวิชาชีพ 1 : 400
สัดส่วนแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่แตกต่างกันไม่เกินร้อยละ 20
3.ขีดความสามารถของบุคลากรด้านสถธารณสุข
4.ระดับความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรด้านสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ (Governance Exellence)
1.ความครอบคลุมของหน่วยงานด้านสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ITA(Integrity and Transparency Assessment)
ระดับการใช้ประโยชน์ได้ทั้งการบริหารจัดการและการบริการประชาชนของระบบข้อมูลสุขภาพ ครอบคลุมประเด็นข้อมูลสำคัญ
จำนวนผลงานวิจัย นวัตกรรม ด้านสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
4.สัดส่วนมูลค่าการนำเข้ายาและเทคโนโลยี่ด้านสุขภาพไม่เพิ่มขึ้น
นางสาวกรรภิรมย์ อินธรรม รหัสนักศึกษา 63121301004