Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive heart failure) หัวใจห้องล่างซ้ายวาย (Left …
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive heart failure) หัวใจห้องล่างซ้ายวาย (Left -sided heart failure)
“Diagnosis”
Sepsis with Congestive heart failure with pneumonia
ข้อมูลผู้ป่วย
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 79 ปี
13 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง ไอมีเสมหะ ขับไม่ออก หายใจหอบเหนื่อย หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้ (Orthopenea)
Admit เมื่อวันที่ 11/07/2566 09.57
-
-
การวินิจฉัยโรค
-
2.การตรวจพิเศษ
Echocardiogram ประเมินการบีบตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ การทำงานของหัวใจ ความดันหัวใจใขนาดหัวใจใผลพบว่า Normal LV size, preserved left ventricular ejection fraction
(LVEF =61.91 % ) ค่าปกติ สูงกว่า 55 % หากต่ำกว่า 40 มาก
มีภาวะหัวใจล้มเหลว ( ผลเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2566 )
3.EKG ดูความหนาของหัวใจล่างเยื่อหุ้มหัวใจขาดเลือด
ในภาวะหัวใจวายผลพบว่า QRS complex กว้าง Abnormal
(ผลเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2566 )
Chest X-ray : CXR การเอ็กซเรย์ปอด เพื่อดูรูปร่างและขนาดของหัวใจ และน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด ผลพบว่า มีภาวะน้ำท่วมปอด
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.มีการติดเชื้อที่ปอด
ข้อมสนับสนุน
S: ผู้ป่วยบอกว่าหายใจไม่สะดวก
เหนื่อย อ่อนแรง
O: - มีไข้ หอบเหนื่อย มีเสมหะ
-O2 sat เท่ากับ 92 %
-Respiratory rat เท่ากับ
24 ครั้ง/นาที room air
-สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 36 องศาเซลเซีย
-pulse 75 ครั้ง/นาที
-Blood pressure 139/75 มิลลิเมตรปรอท
-ฟัง Lung มีเสียง
Crepitation
ข้อมูลวันที่ 17 กรกฎาคม 2566
-มีประวัติเคย Admit
ด้วยโรค Congastive Heart Failure with pneumonia เมื่อวันที่ 28-30 มิถุนายน 2566
การพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง และสังเกตอาการ ถ้ามีไข้อุณหภูมิร่างกาย มากกว่า 38.5 ให้ยาลดไข้ตามแหลผนการรักษา
-
- อาหารที่แนะนำให้รับประทานคืออาหาร อ่อนจืด ค่อยๆให้ทานทีน้อย
-
- ดูแลปาก ฟัน ทางเดินหายใจ ให้สะอาดอยู่เสมอ ถ้าผู้ป่วยไอขับเสมหะออกเองไม่ได้อาจต้อง Suction โดยใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ และการป้องกันการปนเปื้อน (prevention contamination) จากการให้การพยาบาลและสิ่ง แวดล้อม
-
-
-
-
-
-
- ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีน้ำอยู่ในปอด
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบ่นหายใจลำบาก
O : O2 sat เท่ากับ 92 % room air
-Respiratory rat เท่ากับ 24 ครั้ง/นาที
-สัญญาณชีพ อุณหภูมิ 36 องศาเซลเซียส
-pulse 75 ครั้ง/นาที
-Blood pressure 139/75 มิลลิเมตรปรอท
-ฟัง Lung มีเสียง Crepitation
ข้อมูลวันที่ 17 กรกฎาคม 2566
-มีอาการหายใจเหนื่อย นอนราบไม่ได้
-มีประวัติเคย Admit ด้วยโรค Congastive Heart Failure + pneumonia
เมื่อวันที่ 28-30 มิถุนายน 2566*
การพยาบาล
-
-
-
-
5.ควบคุมปริมาณน้ำดื่มน้อยกว่า 1,000 มิลลิลิตรต่อวัน โดย แนะนำว่าหาก ดื่มน้ำ 1 ขวด ที่มีปริมาณน้ำคือ 350 มิลลิตร ให้ ดื่ม 2 ขวด ต่อวัน ส่วนที่เหลืออีก 300 มิลลิลิตรให้เผื่อไว้ ดื่มน้ำหวาน นม และผลไม้
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามการรักษา และบันทึกปริมาณสารน้ำเข้า - ออก ทุก 8 ชั่วโมง โดยชั่งผ้าอ้อมคุณยาย
-
-
-
-
- ญาติและผู้ป่วยวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการของโรคและการรักษา
ข้อสนับสนุน
SD: -ผู้ป่วยบ่นอยากกลับบ้าน และเมื่อไหร่จะหาย
คุณยายเป็นอะไร
-ญาติถามถึงอาการและการรักษาของผู้ป่วยตลอดขณะมาเยี่ยม
OD: -สีหน้าผู้ป่วยและญาติวิตกกังวลขณะถามถึงอาการและการรักษาของผู้ป่วย
การพยาบาล
1.อธิบายให้ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาและโรคที่ผู้ป่วยกำลังเผชิญอยู่และวิธีปฏิบัติตัว ภายใต้ขอบเขตหน้าที่ของพยาบาล
-
3.สร้างสัมพันธภาพที่ดี โดยการพูดจาสุภาพ อ่อนหวาน พูดคุยน้ำเสียงนุ่มนวล เพื่อให้เกิดความสบายใจและไว้วางใจ
พยาธิสภาพของโรค
-
เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลงทําให้เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลงจะทำให้ปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง ส่งผลให้เลือดเหลือค้างใน หัวใจห้องล่างซ้ายมากขึ้น ความดันเลือดในหัวใจห้องล่างซ้ายจึงสูงขึ้น ดังนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจึงบีบ เลือดส่งมายังหัวใจห้องล่างซ้ายได้น้อยลง ทำให้เลือดเหลือค้างที่หัวใจห้องบนซ้าย ปริมาตรเลือดและ ความดันเลือดในหัวใจห้องบนซ้ายจึงสูงขึ้นเรื่อยๆ เลือดจากปอดที่ฟอกแล้วก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบน ซ้ายได้น้อยลงเป็นผลให้ความดันเลือดในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้น ทำให้ของเหลวออกจากหลอด เลือดฝอยที่ปอดเข้าสู่ถุงลม ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะน้ำท่วมปอด
-