Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ,…
บทที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
1.วิทยาศาสตร์
1.1) กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การทดลอง กระบวนการให้เหตุผล
การสรุปผล
การตั้งสมมติฐาน
การบันทึกตั้งปัญหา
การสังเกต
1.2) ประเภทของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
วิทยาศาสตร์กายภาพ
วิทยาศาสตร์ประยุกต์
สิ่งแวดล้อม
1.ประเภทของสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
(Natural environment)
สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต (Biotic Environment)
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Environment)
สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม
(Man-Made Environment)
สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต (Biotic Environment)
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Environment)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
(Physical Environment)
สิ่งแวดล้อมทางสังคม (Social Environment)
2.องค์ประกอบสิ่งแวดล้อมธรรมชาติของโลก
ธรณีภาค (Lithosphere)
2.อุทกภาค (Hydrosphere)
3.บรรยากาศ (Atmosphere)
4.ชีวภาค (Biosphere)
3.ความสำคัญของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อสิ่งมีชีวิต
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต มีความสำคัญต่อ
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้น
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ จะช่วยปรับให้สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของมันได้
สิ่งมีชีวิตจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เช่น มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่
สิ่งแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไปตามการกระทำของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ใน สิ่งแวดล้อมนั้น
สิ่งแวดล้อมจะกำหนดรูปแบบความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ใน สิ่งแวดล้อม
4.บทบาทของสิ่งแวดล้อมต่อมนุษย์
1.สิ่งแวดล้อมกำหนดภาวะประชากร
ลักษณะภูมิประเทศ
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ
2.สิ่งแวดล้อมกำหนดความเป็นอยู่ของมนุษย์
อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม
ที่อยู่อาศัย
ยารักษาโรค
3.สิ่งแวดล้อมกำหนดการประกอบอาชีพของมนุษย์
พฤติกรรมของมนุษย์
พฤติกรรมของมนุษย์ที่สามารถมองเห็นได้
พฤติกรรมของมนุษย์ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตา
แบ่งตามอาชีพของมนุษย์
อาชีพขั้นทุติยภูมิ
อาชีพขั้นตติยภูมิ
อาชีพขั้นปฐมภูมิ
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อมนุษย์
พฤติกรรมของมนุษย์มีอิทธิอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดล้อม
มิติสิ่งแวดล้อม
1) มิติทรัพยากร
ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น
ทรัพยากรธรรมชาติ
2) มิติเทคโนโลยี
1.เป็นเครื่องมือและอุปกรณ์
2.เป็นหลัการ ทฤษฎี ข้อเท็จจริง
3) มิติของเสียและมลพิษ
เหลว
แก๊ส
1.แข็ง
4.มลพิษทางฟิสิกส์ (กายภาพ)
4) มิติมนุษย์
การอนามัย/สาธารณสุข
การศึกษา
เศรษฐกิจ
ประชากร
คุณลักษณะเฉพาะตัวของสิ่งแวดล้อม
4) มีความเกี่ยวเนื่องกันกับสิ่งอื่นที่หลากหลาย
5) มีความเปราะบาง-ทนทานต่างกันทั้งเวลา อายุ สถานที่
3) ต้องการสิ่งอื่นเสมอ
2) ไม่อยู่โดดเดี่ยว
6) อยู่เป็นร่วมกันอย่างผสมกลมกลืนเป็นระบบนิเวศ
1) มีเอกลักษณ์เฉพาะ
7) เปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่สภาพหนึ่งเสมอ
วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
1.ประเภทของสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่เกิดโดยธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น
สิ่งแวดล้อมทางวัตถุหรือสิ่งแวดล้อมที่มองเห็นได้
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
นางสาวสุมาลี ใสสอาด เลขที่ 23 Section 02