Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เคส 6 - Coggle Diagram
เคส 6
Differential diagnosis
Herpes zoster
-
อาการ
- ผื่นแดง/ ตุ่มน้ำใสเล็กๆ ตามแนวเส้นประสาท
- ปวดแสบปวดร้อน คล้ายถูกไฟไหม้ ปวดเมื่อยตามร่างกาย
- ไข้ อ่อนเพลีย
ตรวจร่างกาย
ระบบผิวหนัง พบตุ่มน้ำใส vescicle ตามแนวเส้นประสาท พบบ่อยที่ ทรวงอก คอ เอว ก้นกบ ตา ใบหน้า
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
- Tzanck smear ขูดฐานของตุ่มน้ำใสแล้วนำไปย้อมสี จะพบ multinucleated giant cells และ epithelial cells
การรักษา
Specific : Acyclovir 800 mg 1*5 ( เวลา 6,10,14,18,22) 7-10 วัน
Symptomatic:
- ครีมพยาญอ ทา วันละ 4-5 ครั้ง
- Paracetamol 500 mg 1 tab oral prn q 4-8 hr / Ibuprofen 400 mg 1 tab oral tid
Herpes simplex
สาเหตุ เชื้อ Herpes simplex virus: HSV-1, HSV-2
อาการและอาการแสดง
- Herpes simplex virus type I: HSV-1
-เกิดแผลหรือตุ่มน้ำพองที่บริเวณปาก ใบหน้า โพรงจมูก หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของผิวหนังเหนือสะดือ
-เริมที่ปาก เกิดตุ่มน้ำใส แผลพุพอง ผื่นบวมแดง และบาดแผลแสบร้อน
- Herpes simplex virus type II: HSV-2
คัน ระคายเคือง แผลพุพอง และอาการเจ็บปวดที่บริเวณอวัยวะเพศชาย หรือที่บริเวณอวัยวะเพศหญิง
-
การวินิจฉัย
-
2.ตรวจพิเศษ
การทดสอบ PCR Test (Polymerase chain reaction)
การตรวจหาแอนติบอดีชนิด IgM ต่อไวรัสเฮอร์ปีส์ ซิมเพล็กซ์ (HSV) ด้วยเทคนิค ELISA เป็นการตรวจหาการติดเชื้อของโรคเริมในระยะแรกหรือติดเชื้อตั้งแต่กำเนิด ให้ผล positive
Chicken pock
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า ไวรัสวาริเซลลา (Varicella Virus) เป็นเชื้อตัวเดียวกับที่ทำให้เกิดงูสวัด ติดต่อผ่านทางเดินหายใจ
อาการ
•ไข้ ปวดเมื่อย เจ็บคอ เบื่ออาหาร
• มีตุ่มน้ำใสเล็กๆ ขึ้นทั่วร่างกาย ร่วมกับมีอาการคัน
•ผื่นเริ่มแรกเป็นแบบผื่นแดง จากนั้นเเปลี่ยนเป็นตุ่มนูน แล้วตามด้วยตุ่มน้ำใส และเปลี่ยนเป็นตุ่มหนอง
-
ซักประวัติ
PI
1.ผื่นเป็นที่ไหน ผื่นแบบไหน ขึ้นมานานหรือยัง กี่วัน
2.ผื่นกระจายไปที่ไหนไหม
3.บริเวณที่ผื่นขึ้นปวดแสบปวดร้อนไหม
4.ได้ทายาอะไรบ้างไหม
5.มีอาการอื่นร่วมด้วยไหม เช่น มีไข้ อ่อนเพลีย
-
Final diagnosis
-
คำแนะนำ
- รักษาแผลให้สะอาด ในระยะเป็นตุ่มน้ำใสที่มีอาการปวดแสบปวดร้อนให้ใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำเกลืออุ่นๆ ประคบไว้ประมาณ 5-10 นาที แล้วทายาฆ่าเชื้อเฉพาะที่ ในระยะตุ่มน้ำแตกมีน้ำเหลืองไหลออกมาต้องระวังการติดเชื้อแบคทีเรียที่จะเข้าสู่แผลควรใช้น้ำเกลือสะอาดชะแผล แล้วปิดด้วยผ้ากอซสะอาด
- ปวดแผลมากสามารถรับประทานยาแก้ปวด เช่นพาราเซตามอล
- ไม่ควรใช้เล็บแกะเกาตุ่มงูสวัดเพราะอาจทำให้ มีการติดเชื้อแบคทีเรียแบคทีเรียแทรกซ้อน กลายเป็นตุ่มหนองแผลหายช้าและกลายเป็นแผลเป็น
- สามารถรับประทานได้ทุกอย่างโดยเน้นให้ครบ 5 หมู่
- ไม่ควรเป่าหรือพ่นยาลงบนแผล เพราะจะทำให้ติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน แผลหายช้าและการเป็นแผลเป็น
- แนะนำให้ใส่แมส แยกของใช้ ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ โดยเฉพาะคนในครอบครัวที่มีภูมิต่ำ
-
Lab เพิ่ม
- PCR test
- Tzanck smear ขูดฐานของตุ่มน้ำใสแล้วนำไปย้อมสี จะพบ multinucleated giant cells และ epithelial cells
1)เจาะเลือดตรวจหาระดับแอนติบอดี varicella IgG