Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยายาลจิตเวช, นางสาวรุเบญี สีสมาน 64105301083 -…
เครื่องมือในการบำบัดทางการพยายาลจิตเวช
ตระหนักรู้ในตัวเอง และใช้ตัวเองเพื่อการบำบัด
Self - awareness
การรู้พฤติกรรมตัวเองที่จะเกิดขึน และจัดการกับความรู้สึกตัวเองได้ เพื่อตอบสนองผู้ป่วยได้เหมาะสม
Therapeutic Use of self
การใช้ตัวเองสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วย เพื่อให้มีการเเลกเปลี่ยนความคิด ความรู้สึกและความสัมพันธ์ต่อกัน
การสร้างสัมพันธ์พื่อการบำบัด
เป้าหมายเพื่อ เปิดโอการให้ผู้ป่วยระบ่ยความรู้สึก แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รู้จักตนเอง ยอมรับตนเอง เพื่อเข้าใจปัญหาตนเอง เพื่อส่งเสริมความสามารถในการตัดสินใจของผู้ป่วย และวางแผนในอนาคต เพื่อการมีสัมพัณธ์ภาพในทางสร้างสรรค์
เป็นความสัมพันธ์เชิงวิชาชีพ เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยให้กลับเข้าสู่ภาวะปกติ โดยยึดถือจรรยาบรรณ และใช้ตนเองเป็นเครื่องมือบำบัด
องค์ประกอบการสร้างความสำพันธ์
สถานที่
การจัดท่านั่ง
ท่าที่ 1 การนั่งประจันหน้ากันตรง ๆ
ท่าที่ 2 ท่านั่งเคียงกัน
ท่าที่ 3 ท่านั่งโต๊ะทำงาน เป็นการนั่งทางการ อาจจะอึดอัด
ท่าที่ 4 ทั้งสองฝ่ายนั่งเยื้องกันเล็กน้อย เป็นท่าที่ผ่อนคลายที่สุด
ขั้นตอมสัมพันธภาพ
ระยะก่อนการสร้างสัมพันธภาพ (pre-Initial phase) : ต้องรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นของผู้ป่วย เเละสำรวจตนเองเพื่อให้ความตระหนักรู้
ระยะเริ่มต้นการสร้างสัมพันธภาพ (Initial phase) : เป้าหมายคือทำความรู้จักและคุณเคย เเละเกิดความไว้วางใจ เพื่อผู้รับการบำบัดให้ข้อมูลเพื่อทำความรู้จัก
บอกชื่อ สกุล ตำแหน่งวิชาชีพ บอกจุดประสงค์ บอกนัดวันเวลา สถานที่ บอกเรื่องปกปิดความลับ บอกกระบวนการที่ใช้ในการศึกษา เช่นการอัดเสียง หรือการจดบันทึก
สิ่งที่ควรปฏิบัติ : เมื่อรับฟังแยกระหว่างอันไหนปัญหาจริง อันไหนที่ผู้ป่วยคิดว่าเป็นปัญหา ประเมินความวิตกกังวลของพยาบาล และผู้ป่วย ประเมินความคาดหวังของผู้ป่วย
ระยะดำเนินการแก้ปัญหา (working phase)
ระยะที่ผู้ป่วยเริ่มมีความไว้ว่างใจ เริ่มเปิดเผยเรื่องราวของตน พยาบาลต้องพิจารณาความต้องการของ
สิ่งที่ควรปฏิบัตร : รักษาสัมพันธภาพและเปิดโอกาศให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และหาสาเหตุของปัญหา ประเมินความเจ็บป่วย ส่งเสริมให้ผู้ป่วยตระหนักในตนเอง สนับสนุนผูป่วยด้านจิตใจ และให้การช่วยเหลือ
ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ (termination phase)
เมื่อผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น เช่นสามารถดูแลตนเองได้ ควบคุมตนเอง พึ่งหาตนเองได้
สิ่งที่คสรปฏิบัติ : ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการยุติสัมพันธภาพ เปิดโอกาศให้แสดงความคิดเห็น ให้เห็นคุณค่าตัวเอง และอธิบายให้ผู้ป่วยทราบการยุติความสัมพันธ์
เทคนิคการสนทนาเพื่อการบำบัด
Giving recognition รู้จักจำได้
Offering - Self การเสนอตนเองเพื่อช่วยเหลือ
Giving Information การบอกข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริจจริง
Giving Broad Opening ใช้ คำกล่าวกว้างๆ เช่นคิดอะไรอยู่ อยากเล่าอะไรบ้าง
Reflecting การสะท้อนความรู้สึก คิดว่าผู้ป่วยรู้สึกอย่างไร จากคำพูดคลุมเครือ
Restarting การทวนประโยค คือการพูดซ้ำ
Accepting การยอมรับ เช่นการพยักหน้า การฟังเฉยๆ
Sharing Observation การบอกกล่าวสิ่งทสี่งสังเกตเห็น ในด้านพฤติกรรมที่เขาเเสดงออกมา เข่น คุณถอนหายใจเมื่อพูดเรื่องนี้
Using Silence การเงียบ เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
Giving General Lead การใช้คากล่าวนาโดยทั่วไป เช่นเเล้วยังไงต่อคะ (ควรใช้น้อย)
Clarifying การให้ความกระจ่าง คือการถามให้ชัดเจน
Validating การตรวจสอบความเข้าใจ ว่าเข้าใจถูกต้องเหมือนกับผู้ป่วยไหม
Exploring การสำรวจ การพูดถึงประเด็นปัญหาคนไข้
Focusingการมุ่งประเด็นการสนทนา ใช้ในกรณีผู้ป่วยพูดหลายเรื่อง
Encouraging Evaluation กระตุ้นให้ประเมินผล
Presenting Reality การบอกความจริง ในผู้ป่วยหูเเวว ประสาทหลอน หลงผิด
Voicing Doubt การตั้งข้อสงสัย ใช้ในเหตุการณ์ที่คิดว่าไม่ได้เป็นไปได้ในเรื่องเล่าผู้ป่วย
Summarizing การสรุป โดยสรุปแต่ละประเด็น
Questioning การถาม
Open – Ended Question การถามปลายเปิด
Closed Ended Question การถามปลายปิด
Encouraging of thought กระตุ้นให้คิด ช่วยผู้ป่วยหาสาเหตุ วิธีแก้ด้วยผู้ป่วยเอง
ปัญหาและการแก้ไขในการสนทนาบำบัด
ระยะเริ่มต้นการสร้างสัมพันธภาพ
พยาบาล : ไม่สามารถทำให้ผู้ป่วยเชื่อใจได้ กลัวและกังวลต่อพฤติกรรม ควบคุมผู้ป่วย
แสดงความมั่นใจในตนเอง มีวินัย ใส่ใจ วางตนเหมาะสมกับหน้าที่
ผู้ป่วย : วิตกกังวล ต่อต้าน ไม่เป็นมิตร
ระยะดำเนินการแก้ไขปัญหา
พยาบาล : กังวลกับการใช้เทคนิคต่างๆ คิดหวังว่าจะแก้ปัญหาผู้ป่วยได้ ถ่ายโยงความรู้สึกพยาบสลไปที่ผู้ป่วย
ผู้ป่วย : กังวล การถ่ายโยงความรู้สึกผู้ป่วยมาที่พยาบาล
แสดงความเข้าใจ ให้กำลังใจ ปรับมุมมอง , เเสดงความขัดเจนในบทบาท พยาบาลลดความคาดหวังในตนเองว่าแก้ไขปัญหาผู้ป่วยได้
ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ
พยาบาล : ประเมินพฤติกรรมผู้ป่วยไม่ถูกต้อง อาจมีความสัมพันธเชิงสังคม
ประเมินความรุนเเรงกังวลผู้ป่วย เพื่อ่ววเหลือ ประเมินความพร้อมในการสิ้นสุดสัมพันธภาพ ถ้าไม่ะร้อมให้วางแผนการพยาบาลตามความเหมาะสม
ผู้ป่วย : ปฏิเสธ ก้าวร้าว พึ่งพา เศร้า ถดทอย กังวลจากการแยกจาก
นางสาวรุเบญี สีสมาน 64105301083