Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
G2P0P0A1 GA 36+3 wks. Teenage pregnancy with obesity in pregnancy with…
G2P0P0A1 GA 36+3 wks. Teenage pregnancy with obesity in pregnancy with Chronic Hypertension with Preterm Premature Rupture of Membranes with single live birth with Labor pain with Normal Labor with Right Medio-lateral episiotomy with Suture all catgut subcutaneous with postpartum hemorrhage
ภาวะอ้วน (obesity) (สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ, 2563)
ภาวะแทรกซ้อน
-ถุงน้ำในรังไข่
-ภาวะไขมันสะสมในตับ
-เบาหวานขณะตั้งครรภ์
-ภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
-การคลอดก่อนกำหนด
-ความจำเป็นต้องได้รับการชักนำการคลอด
-การผ่าตัดคลอด
-ทารกทางหน้าท้อง
-ทารกมีขนาดใหญ่
-ทารกมีน้ำหนักน้อย
-ทารกมีความพิการแต่กำเนิด
-ทารกเสียชีวิตในครรภ์
-การตกเลือดหลังคลอด
-
-
หมายถึงการมีเนื้อเยื่อไขมันมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือผู้ชายมากกว่าร้อยละ 20 และ ผู้หญิง มากกว่าร้อยละ 30 หรือมีดัชนีมวลกาย 30 กก./ม. หรือมากกว่า สำหรับประชากรเอเชียถือว่ามีภาวะอ้วน เมื่อมีดัชนีมวลกายตั้งแต่ 25 กก./ม. ขึ้นไป
เคสกรณีศึกษา มีมีส่วนสูง 159 เซนติเมตร น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 65 กิโลกรัม BMI = 25.71 kg/m3 (มีภาวะอ้วนระดับ1) น้ำหนักปัจจุบัน 86 กิโลกรัม น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ 21 กิโลกรัม น้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ (ในรายที่ BMI 25 - 29.9kg/m3 ควรมีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดตลอดการตั้งครรภ์อยู่ระหว่าง 7 - 11.5 กิโลกรัม)
พยาบาลผดุงครรภ์และบุคลากรในทีมสุขภาพควรจัดทำแนวปฏิบัติในการประเมินภาวะสุขภาพ ให้ คำปรึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย และเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพ ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ สำหรับสตรีที่มารับบริการในหน่วยฝากครรภ์ ห้องคลอด หลังคลอด นรีเวช คลินิกต่างๆ และในระดับชุมชนที่รับผิดชอบดูแล
มารดารายนี้ได้รับคำปรึกษาให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารให้ลดการรับประทานอาหารที่มีลดเค็มและอาหารที่มีไขมันสูง
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์คลอด(ศศิกานต์ กาละ, 2562)
อาการ คือมีน้ำใสๆ ออกจากช่องคลอด อาจจะมีปริมาณเล็กน้อยเลอะกางเกงใน เป็นวงใหญ่ๆ ออกมาเรื่อยๆ หรือปริมาณมากเปียกชุ่มผ้านุ่ง โดย ไม่มีอาการเจ็บครรภ์ แต่โดยปกติหลังคารั่วแตกไม่นานจะเริ่มมีอาการเจ็บครรภ์ตามมา
-
ความหมาย ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่ว หรือแตกก่อนที่จะเริ่มมีอาการเจ็บครรภ์คลอดโดยไม่คำนึงถึงเวลาหรืออายุครรภ์และถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ในครรภ์คลอดก่อนกำหนด(preterm premature rupture ofmembrane [PPROM]) หรือการเริ่มเจ็บครรภ์เมื่อถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตกก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
ปัจจัยเสี่ยง 1. การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำที่มีอยู่ก่อนแล้วอาจเป็นเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสซึ่งรวมทั้งการติด เชื้อซ่อนเร้นในน้ำคร่ำด้วย 2. การติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด อาจเป็นเชื้อแบคทีเรีย หรือไวรัส 3. การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ 4. ถุงน้ำคร่ำไม่แข็งแรงจากสาเหตุทางพันธุกรรม 5. ปากมดลูกไร้สมรรถภาพ (incompetent cervix) มีการเปิดของปากมดลูก การฉีกขาดหรือการบาดเจ็บที่ปากมดลูก 6. มดลูกทีมีความตึงตัวมาก พบในสตรีตั้งครรภ์แฝดและครรภ์แฝด 7. ทารกอยู่ในท่าทีส่วนน่าผิดปกติ ได้แก่ ท่ากัน ท่าขวาง 8. เคยมีประวัติการคลอดก่อนกำหนด หรือถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน 9. การมีเลือดออกระหว่างตั้งครรภ์ ได้แก่ ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนดรกเกาะต่ำ แท้งคุกคาม 10. เศรษฐานะไม่ดี 11. การสูบบุหรี่และดื่มเหล้า
ผลกระทบ
ด้านมารดา 1. การติดเชื้อในโพรงมดลูก และเยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบหลังคลอด 2. อัตราการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพิ่มขึ้น 3. เกิดการคลอดก่อนกำหนดหลังจากเกิดภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
- การคลอดก่อนกําหนด 2. ทารกมีการติดเชื้อ 3. ทารกในครรภ์เกิดภาวะขาดออกซิเจน 4. ทารกมีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์ 5. เกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
การรักษา
1 กรณีที่มีการติดเชื้อ จะมีการเพาะเชื้อดูว่าเป็นเชื้อชนิดใด และให้ยาปฏิชีวนะในรายที่ อุณหภูมิกายสูงกว่า 38 องศาเซลเซียส (ปราชญาวตี 2554; สุปราณี, 2546) หากมีอาการ หรืออาการ แสดงว่าติดเชื้อ หรือตรวจยืนยันว่ามีการติดเชื้อในโพรงมดลูก เช่น มดลูกกดเจ็บ น้ำคร่ำมีกลิ่นเหม็น ชีพ จรเต้นเร็ว อัตราการเต้นของหัวใจทารกเร็วกว่าปกติ เป็นต้น หรือมีหลักฐานที่แสดงว่าทารกอยู่ในภาวะ เสี่ยงต่ออันตรายจากสายสะดือถูกกดทับ เนื่องจากภาวะน้ำคร่ำน้อยลง แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะโดยเร็ว เช่น แอมพิซิลิน (ampicillin 2 gm) ทุก 4-6 ชั่วโมง ร่วมกับเจนตาไมซิน (gentamicin 1.5 mg/kg) ทาง หลอดเลือดดำ และมักตัดสินใจให้คลอดโดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์ (ชเนนท์และธีระ, 2555, ธีระพงศ์, 2551 ) ซึ่งการตัดสินใจว่าจะให้คลอดทางช่องคลอดหรือการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องขึ้นอยู่กับ อายุครรภ์ ท่าทารก ขนาดของทารก และความพร้อมของปากมดลูก
2 กรณีที่ไม่มีการติดเชื้อ 1 อายุครรภ์ 34 สัปดาห์หรือมากกว่า ให้คลอด หรือชักนำการคลอด เพื่อป้องกันการติดเชื้อ 2 อายุครรภ์ 32-33 สัปดาห์ ดูแลติดตามอาการอย่างใกล้ชิด ป้องกันการติดเชื้อ ให้ ยาปฏิชีวนะเพื่อยืดอายุครรภ์ ส่วนใหญ่ไม่แนะนำให้กลูโคติคอร์สเตียร์รอยด์ และยายับยั้งการหดรัดตัวของ มดลูกในรายที่มีภาวะน้ำคร่ำแตก 3 อายุครรภ์ 24-31 สัปดาห์ ดูแลติดตามอาการอย่างใกล้ชิด ป้องกันการติดเชื้อ ให้ ยาปฏิชีวนะเพื่อยืดอายุครรภ์ ให้กลูโคติคอร์สเตียรอยด์ 1 คอร์ส ส่วนใหญ่ไม่แนะนำให้ยายับยั้งการหด รัดตัวของมดลูก 4 อายุครรภ์น้อยกว่า 24 สัปดาห์ ให้คำปรึกษาแก่สตรีตั้งครรภ์และสามีถึงทางเลือก ในการดูแล ติดตามอย่างใกล้ชิด หรือชักนำการคลอด ไม่แนะนำให้กลูโคติคอร์สเตียรอยด์และยายับยั้ง การหดรัดตัวของมดลูก และไม่มีข้อมูลเพียงพอสำหรับการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อยืดอายุครรภ์
การพยาบาล
- ตรวจภายในเมื่อจําเป็นและใช้หลักปราศจากเชื้อให้มากที่สุด เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการคลอดตามแผนการรักษา ส่วนใหญ่จะได้รับยาออกซิโตซิน ประเมิน การหดรัดตัวของมดลูก และความก้าวหน้าของการคลอด ปกติคลอดภายใน 24 ชั่วโมง
- ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการแสดงของการติดเชื้อ ถ้าอุณหภูมิมากกว่าหรือเท่ากับ 37.5 องศาเซลเซียส รายงานแพทย์
- รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ แนะนำเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 4 ชั่วโมง หรือเปลี่ยนผ้าซับ น้ำคร่ำเมื่อชุ่ม พร้อมทั้งทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังการขับถ่ายทุกครั้ง
- ใส่ผ้าซับน้ำคร่ำเพื่อสังเกตปริมาณ สี และกลิ่นของน้ำคร่ำ หากมีสีเทาปนในน้ำคร่ำแสดงว่า ทารกเริ่มมีภาวะขาดออกซิเจน ให้รายงานแพทย์
- ดูแลติดตามบันทึกการเต้นของหัวใจทารกและการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30-60 นาที ควร ติดตามประเมินด้วยเครื่องตรวจการหดรัดตัวของมดลูกและติดตามการเต้นของหัวใจทารก (EFM) อย่างต่อเนื่อง
- ดูแลส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ และให้ยาตามแผนการรักษา เช่น ส่งตรวจเลือด ปัสสาวะ ให้ ยาปฏิชีวนะ เป็นต้น
- เตรียมสตรีตั้งครรภ์ให้พร้อมสำหรับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง เมื่อมีข้อบ่งชี้ เช่น มีภาวะ ทารกขาดออกซิเจน มีการติดเชื้อ สายสะดือพลัด หรือสายสะดือถูกกดเนื่องจากมีน้ำคร่ำน้อย
- ดูแลสนับสนุนทางจิตใจ เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวมีการปรับตัวได้อย่างเหมาะสม
-
เคสกรณีศึกษาให้คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา สวนปัสสาวะออกให้หมด และคาสายสวนปัสสาวะไว้ และให้5%DN/2 1000 ml + Oxytocin 40 Unit rate 120 cc/hr เข้าทางหลอดเลือดดำ และขอเลือดเตรียมไว้ 2 ยูนิต ให้ทันที1 ยูนิต ยาที่รับ- 5% DN/2 1000ml + Syntocinon 40 unit ⓥ drip 120 ml/hr. ไม่ได้รับให้ Methergin 0.2 มิลลิกรัม และวางกระเป๋าน้ำแข็งบริเวณหน้าท้อง
-
-
-
เคสกรณีศึกษาจัดอยู่ในความดันโลหิตประเภทChronic hypertension เนื่องจากตรวจพบเมื่ออายุครรภ์ได้ 10+3 สัปดาห์ BP Systolic 117-158 mmHg/Diastolic 62-94 mmHgผลตรวจมีความผิดปกติ แพทย์ให้ทานยา ASA ตอนอายุครรภ์ 13 สัปดาห์
-
-
-
-
ปฏิกิริยาสะท้อน (Deep tendon reflex) ประเมินได้เกรด2 ไม่มีอาการกระตุกของกล้ามเนื้อข้อเท้า (Ankle clonus)
-
แนะนำให้มารดามาตามนัดตรวจติดตาม 6 สัปดาห์ในมารดาระยะหลัง คลอด ให้คำแนะนำอาการที่ควรมาพบแพทย์เช่นปวดศีรษะ ตาพร่ามัว เห็นภาพไม่ชัด อาการปวด บริเวณใต้ลิ้นปี่หรืออาการเจ็บชายโครงขวา รวมถึงการควบคุมน้ำหนัก และการรับประทานอาหารงดอาหารเค็ม
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
แนะนำให้พักในท่านอนตะแคงซ้าย เพื่อช่วยให้เลือดไปเลี้ยงมดลูกและทารกดีขึ้น ช่วยให้ความดันโลหิตลดลง ปัสสาวะออกมากขึ้น
-
แนะนำการรับประทานอาหารธรรมดาที่จำกัดเกลือ เพิ่มอาหารกากใย เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับสารอาหารเพียงพอต่อร่างกาย
-
บันทึกและประเมินภาวะสุขภาพเบื้องตนของตนเองและทารกในครรภ์ เช่น การวัดความดันโลหิต และการตรวจหาระดับโปรตีนในปัสสาวะด้วยตนเอง การชั่งน้ำหนักตัววันละครั้ง
-
-
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้งใน 12 ชั่วโมง อาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว มองเห็นภาพซ้อน เป็นต้นแนะนำให้มาโรงพยาบาล
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ทำตามข้อที่ 1,2และ3 แล้วเลือดหยุดไหลจึงไม่ได้ทำข้อนี้
-
ทำตามข้อที่ 1,2'3และ4 แล้วเลือดหยุดไหลจึงไม่ได้ทำข้อนี้
-
-
-
ในเคสกรณีศึกษา blood loss ขณะคลอด150 ml ก่อนย้ายpp 50 ml เยี่ยมเคสขณะอยู่pp 560 totel760ml มีอาการวิงเวียนศรีษะ1ครั้ง
-
มารดารายนี้แพทย์ให้ Go on labor และให้ชักนำการคลอดในตอนเช้า ได้รับยาสเตียรอยด์เป็นDexa 6 mg IM stat การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการอักเสบติดเชื้อเป็น Ampicilin 1 gm iv q 4hr มารดาคลอดเวลา06.01 จึงไม่ใด้ให้ยาชักนำการคลอด
-
วัดสัญญาณชีพ BT= 36.9 C PR= 96 ครั้ง/นาที RR= 20 ครั้ง/นาที BP= 140/90 mmHg ผลlab CBC WBC Count=12,040 cell/mm3 PMN 65% Lymphocytes26% ผลlabUA WBC 0-1 Cells/HF ไม่มีภาวะติดเชื้อ
-
-
-
-
-
-
แนะนำเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 4 ชั่วโมง หรือเปลี่ยนผ้าซับ น้ำคร่ำเมื่อชุ่ม พร้อมทั้งทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังการขับถ่ายทุกครั้ง
-
-
ติดตามประเมินด้วยเครื่องตรวจการหดรัดตัวของมดลูกและติดตามการเต้นของหัวใจทารก (EFM) อย่างต่อเนื่อง ผลEFM ได้Baseline FHR อยู่ในช่วง 130 bpm Moderate Variability present acceleration absent Deceleration อยู่ใน category I interval 2-3’ Duration 15-35”
-
ดูแลส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผลlab CBC WBC Count=12,040 cell/mm3 PMN 65% Lymphocytes26% ผลlabUA WBC 0-1 Cells/HF ไม่มีภาวะติดเชื้อ ดูแลให้ ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาเป็นAmpicilin 2 g iv stat
-
-
-