Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้คลอดในระยะที่ 2 ของการคลอด และบทบาทผู้ช่วยคลอด (Cir แม่) -…
การดูแลผู้คลอดในระยะที่ 2 ของการคลอด และบทบาทผู้ช่วยคลอด (Cir แม่)
การดูแลผู้คลอดในระยะที่ 2 ของการคลอด
การดูแลความก้าวหน้าของการคลอด (2)
การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
Interval 2-3 min, Duration 45-60 sec, Intensity รุนแรง :
จังหวะสม่ำเสมอ
ประเมินการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ประเมินท่าของทารกในครรภ์หากมีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำช้าหรือหยุดชะงัก
เช่น OP หรือ OT
การประเมินสัญญาญชีพ
ชีพจรไม่ควรเกิน 100 bpm, SBP ไม่ควรสูงกว่า 20 mmHq จากระดับปกติของผู้คลอด
ประเมินกระเพาะปัสสาวะต่อเนื่อง ทำกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง ไม่ให้เกิดการขัดขวางกระบวนการคลอดและป้องกันการเกิด vesico-vaginal fistula
กิจกรรมการพยาบาล (3)
การจัดท่าเบ่งคลอด
ท่าพาดขาหยั่ง
(lithotomy) ศีรษะ หรือ สูงประมาณ 30 - 60 องศา
หากนานเกิน 1 hr เสี่ยงภาวะหลอดเลือดดำอักเสบหลังคลอด เพราะเลือดจะมาคั่งบริเวณอุ้งเชิงกรานมากขึ้น
ไม่เหมาะในรายที่มีเส้นเลือดขอดมาก
แนะนำวิธีการเบ่งให้ผู้คลอด
When : ขณะที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
ป้องกันการคลอดล่าช้า
How
เริ่มด้วย หายใจเข้าออกลึกๆ 1-2 ครั้ง
สูดหายใจเข้าเต็มที่ ก้มหน้าคางชิดอก ลำตัวงอรูปตัว C
เบ่งลงช่องคลอดคล้ายถ่ายอุจจาระ แต่ละครั้งใช้เวลา 6-8 วินาที
เบ่งนานกว่า 8 วินาที จะทำให้เกิดภาวะ valsava maneuver
มดลูกคลายตัวให้หายใจลึกๆยาวๆ 1-2 ครั้งและคล้ายกล้ามเนื้อทุกส่วน ก่อนเริ่มเบ่งใหม่
ตัดฝีเย็บ : ศีรษะทารกมีการ Crown คือเห็นส่วนศีรษะโผล่มาที่ปากช่องคลอด เส้นผ่านศูนย์กลางมีขนาดประมาณไข่ไก่ (ไม่ทุกราย)
เตรียมอุปกรณ์และผู้ทำคลอดล้างมือ
ทำความสะอาดบริเวณ perineum อย่างเป็นระบบด้วย Povidine solution และปูผ้าปราศจากเชื้อ
save perineum เพื่อเป็นการป้องกันศีรษะทารกเงยขึ้นเร็วเกินไป และป้องกัน Tear in cervix
ดูดเมือกในจมูกและปากทารกออก เมื่อศีรษะทารกคลอด
หมุนศีรษะทารกให้อยู่ในแนว occiput transverse จากนั้นทำการคลอดไหล่หน้า
เมื่อทารกคลอดครบทั้งตัวแล้ว ดูดเมือกในจมูกและปากทารกอีกครั้ง ให้ส่วนศีรษะทารกอยู่ต่ำกว่าส่วนลำตัว เพื่อป้องกันการสำลักสารคัดหลั่งต่างๆในปากและจมูกเข้าไปในปอด
ตัดสายสะดือและนำทารกไปยัง Radiant warmer เพื่อรับการดูแลต่อไป
บทบาทผู้ช่วยคลอด (Cir แม่) (4)
ดูแลให้ผู้คลอดรู้สึกสุขสบาย
เช็ดตัวและหน้าด้วยผ้าชุบน้ำเย็น
ทำความสะอาดบริเวณ perineum อย่างเป็นระบบด้วย Povidine solution
เชียร์เบ่งอย่างถูกต้อง ให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อมีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และประเมินว่าเบ่งได้อย่างถูกต้องและศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงมากดีหรือไม่
ฉีดยา Oxytocin 10 unit IM (กล้ามเนื้อ Deltoid) เมื่อไหล่หน้าทารกคลอด
เตรียมผ้าอนามัยแบบมีสายคล้องและผ้าถุง 1 ผืน สำหรับใส่ให้มารดาหลังคลอด
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5 นาที
ฟังFHS ด้วย fetal doppler ฟังบริเวณเหนือหัวหน่าว (ฟังใต้ผ้า sterile)
ระยะที่ 2 ของการคลอด (2)
เริ่มจาก Fully Dilation และ Effacement 100% จนถึงทารกคลอดทั้งตัว
เมื่อมากกว่า 1/2 ของความยาวทารกเคลื่อนต่ำผ่านมดลูกส่วนบนลงมา แรงบีบตัวของมดลูกจะไม่เพียงพอ จำเป็นต้องช่วยมารดาในการเบ่งคลอดให้มีประสิทธิภาพ
อาการและอาการแสดง
Fully Dilation (Cervix = 10cm)
Effacement 100%
พบมูกและมูกเลือดจากช่องคลอดมากขึ้น
ระยะเวลาในการเบ่งคลอด
ครรภ์แรกใช้เวลาเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน 2ชั่วโมง
ครรภ์หลังใช้เวลาเฉลี่ย 30 นาที ไม่ควรเกิน 1ชั่วโมง
การดูแลด้านจิตใจ (2)
อยู่เป็นเพื่อนและให้กำลังใจ ช่วยลดความวิตกกังวลและความกลัวในผู้คลอด
ให้ข้อมูลความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยะเพื่อลดความวิตกกังวล
มารดาในระยะนี้มีความเจ็บปวดมาก อาจมีอาการอ่อนเพลีย ทุรนทุราย ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
เข้าใจ ยอมรับพฤติกรรม
สร้างความมั่นใจให้ผู้คลอดขณะเบ่งคลอดและกล่าวชมเชยเมื่อผู้คลอดเบ่งได้ถูกต้อง