Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวชและบทบาทพยาบาล - Coggle Diagram
รูปแแบบการบำบัดรักษาทางจิตเวชและบทบาทพยาบาล
ยาจิตบำบัด (Psychotrophic drugs)
ยาคลายกังวล (antianxiety drugs) :
ใช้อาการวติกกังวลลและความเครียด
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่ม GABA (gamma-aminobutyric acid acid)
ข้อบ่งใช้
1.อาการวติกกังวล เช่น โรคกังวล โรคเครียด โรคแพนิค
ใช้เป็นยานอนหลบั (ปลุกแล้วตื่น)
รักษาอาการถอนเหล้า (delirium tremens)
รักษาอาการก้าวร้าวรุนแรง
รักษาโรคลมชัก(diazepam)
รักษาอาการกล้ามเนื้อเกร็ง เช่น บาดทะยัก คอเกร็ง
ยาที่นิยมใช้
ยาคลายกังวล
Lorazepam รักษา อาการถอนเหล้า
Alprazolam รักษา โรคแพนิค
Diazepam รักษา โรคกังวล , อาการชัก
ยานอนหลับ
Midazolam (Dormicum)
Temazepam, Flurazepam, Triazolam
ผลข้างเคียง
ง่วงนอน : ระมัดระวังอุบัติเหตุ พลัดตกหกล้ม
ความฉับไวในสมองลดลง
สับสน
ดื้อยา(ใชม้านาน) / ขาดยา(หยุดกระทนัหัน)
ก้าวร้าวมากขึ้น
สูญเสียความทรงจำ (amnesia)
พิษของยา
- Diazepam 2000 mg.ขึ้นไป (400tab) ทำให้เสียชีวต (lethal dose)
มีอาการ : ง่วงนอน การทรงตัวเสีย(ataxia) การหายใจช้า ชีพจรช้า และความดันต่ำ
การรักษา : ลา้งทอ้ง และให้ยา Flumazenil จนผปู้่วยฟื้น
ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic drugs)
รักษาอาการ phycosis ex. โรคจิตเภท(Schizophrenia), Bipolar
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง การทำงานของ Dopamine / Serotonin
ข้อบ่งใช้
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
Bipolar disorder
โรคซึมเศร้าที่มีอาการโรคจิต
โรคเพ้อ(Delirium) หรือ โรคสมองเสื่อม(Dementia)ที่มีอาการโรค จิต
ชนิดยาที่นิยมใช้
ยารักษาโรคจิตแบบฉบบั (Typical antipsychotic)
Haloperidol รักษา โรคเพ้อ
ยารักษาโรคจิตแบบใหม่ (Novel antipsychotic)
Risperidone
Clozapine สำหรับผู้ดื้อยา S/E : WBCต่า
ผลข้างเคียงของยา
ผลต่อสมอง
ง่วงนอน
Extrapyramidal (EPS) 4 อาการ
Dystonia คอบิด ตาเหลือก
Akinesia อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เชื่องช้า
Akathesia กระวนกระวาย อยู่นิ่งไม่ได้ สั่น
Parkinsonism แขนขาแข็งเกร็ง สั่น น้ำลายไหล เดินซอยเท้า
ชัก
2.ผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
: คอแห้ง ตาพร่า อ่อนเพลีย ทอ้งผูก ความดันต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า
ผลต่อตับ : ตัว และตาเหลือง
ผลต่อเลือด : เม็ดเลือดต่ำ (agranulocytosis) โดยเฉพาะยาClozapine
หัวใจ : หัวใจเต้นผิดจังหวะ(arrhythmia)
น้ำหนักเพิ่ม น้ำนมไหล ประจำเดือนผิดปกติ
พิษของยา
อาการ : ง่วงนอนมาก หมดสติ ความดันต่ำ ชัก EPS หัวใจเต้นผิดจังหวะ ถึงแก่ชีวิต
การรักษา : ล้างท้อง และให้ยารักษาตามอาการ ex. EPS ให้ benztropine ชัก ให้ diazepam
ผลข้างเคียงที่ร้ายแรง
1. Neuroleptic malignant syndrome (NMS)
อาการ : กล้ามเนื้อตึงแข็ง(rigidity) สับสน เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว ความดันสูง ไข้ส้ง CPK สูง ไม่มีสติ
รักษา : หยุดยาโรคจิต และ รักษาตามอาการ
2. Tardive dyskinesis (TD)
ได้Haloperidol ไม่ต่ำ กว่า 10 ปี
อาการ : การเคลื่อนไหวของลิ้น ขากรรไกร ลำตัว และแขนขา ผิดปกติ อาจจะแบบกระตุกเร็วๆ บิดตัวช้าๆ หรือ เป็นจงัหวะ
รักษา : ให้ยาขนาดต่ำ / เปลี่ยนยา
(3) ยารักษาอาการเศร้า (Antidepressant drugs)
ใช้ร้กษาอาการเศร้า โดยเฉพาะโรคซึมเศร้า และทำให้อาการที่มีมาด้วยหมด ไป (ex. นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร)
กลไกการออกฤทธิ์
ทำให้สารสื่อประสาท serotonin / norepinephrine เพิ่มมากขึ้น
ข้อบ่งใช้
โรคซึมเศร้า (Major depression)
โรคทางจิตเวชอื่นที่มีอาการซึมเศร้า
โรคทางกายที่มีอาการซึมเศร้า ex. Pakinson’s
โรคปัสสาวะรดที่นอน (Enuresis)
โรคแพนิค (Panic disorder)
กลุ่มโรคเนื่องจากความวติกกงัวล / โรคเครียด
ชนิดของยาที่นิยมใช้
Tricyclics (TCAs)
Amitryptylline
Imiplamine รักษา ปัสสาวะรดที่นอน
Nortriptylline
Selective serotonin reuptake inhibitors (SSRIs)
Fluoxetine
Seroxat
Escitalopram
Selective serotonin-noepinephrine reuptake inhibitors (SNRIs)
Vensafaxine
4.อื่นๆ - Mirtazapine
ผลข้างเคียง มักพบในกลุ่ม TCAs
ผลข้างเคียง
มักพบในกลุ่ม TCAs
หัวใจ : หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ และ หัวใจเต้น้ผิดจังหวะ
ผล anticholinergic: ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่า เวียีนศีรษะ ถ่าย ปัสสาวะลำบาก
ระบบประสาท : มือสั่น พูดไม่ชัด การทรงตัวเสีย
เลือด : เม็ดเลือดต่ำ (agranulocytosis)
พิษของยา
มักเกิดกับยากลุ่ม TCAs
อาการจากพิษของ anticholinergic effects : สับสน เพ้อไข ้ม่านตา ขยาย ความดันต่ำ ถ่ายปัสสาวะไม่ออก หมดสติ ช็อค การหายใจถูก
การรักษา : ให้ Diazepam เพื่อรักษาอาการชัก, ให้physostigmine (เป็นantidote) และ รักษาตามอาการ
ยาปรับอารมณ์ (Mood Stabilizers)
รักษาโรคจิตเวชที่มีความผดิปกติของอารมณ์ และพฤติกรรมกา้วร้าวรุนแรง •
กลไกการออกฤทธิ์
ปรับการนำ ส่งกระแสประสาทภายในสมองให้อยู่ในสภาวะสมดุล
ข้อบ่งใช้
Bipolar disorder ทุกแบบ
เสริมฤทธิ์ยารักษาอารสมณ์เศร้า ในการรักษาซึมเศร้า
รักษาโรคทางจิตเวชที่มีอาการก้าวร้าว
รักษาโรคลมชัก
ผลข้างเคียง
ระบบGI : คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
ระบบประสาท : ง่วงนอน เดินเซ มือสั่น จากLithium
เป็นพิษต่อเด็กในครรภ์: หากทานยาอยู่ ห้ามตั้งครรภ์/คุมกำเนิด
ระบบทางเดินปัสสาวะ : ปัสสาวะมาก กระหายน้ำ
ประสิทธิภาพต่อมThyroidลดลง จากLithium
ยาที่นิยมใช้
Lithium
Carbamazepine(ยากันชัก)
Valproic acid
การรักษาด้วยกระแสไฟฟ้า (ECT)
กลไกการออกฤทธิ์ ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของสารสื่อประสาท Monoamines
ข้อบ่งใช้
โรคซึมเศร้า (Major Depression)
Bipolar disorder
โรคจิตเภท (Schizophrenia) ที่มีอาการ catatonia(นั่งท่า เดียวนานๆทั้งวัน)
ข้อห้ามใช้
เนื้องอกในสมอง
กล้ามเนื้อหัวใจวายตายเฉียบพลัน
ผลข้างเคียง
1.ปวดศีรษะ
2.ความจำ เสียไปชั่วคราว / สับสน
ฟันโยก / หัก
Milieu Therapy นิเวศน์บำบัด
จุดมุ่งหมายของ Milieu Therapy 2 ประการ
จำกัดพฤติกรรมที่วุ่นวาย และผิดปกติของผู้ป่วย
สอนทักษะทางจิตสังคมให้ผู้ป่วย - การรู้เวลา สถานที่ บุคคล
แนวคิด และหลักการ
แนวคิด : มนุษย์มีความสามารถในการเรียนรู้ และพยายามปรับตัวให้ เข้ากับสิ่งแวดลอ้ม
หลักการ : การจัดสิ่งแวดล้อมที่ดี จะเป็นตัวช่วยให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นปัญหาให้ดีขึ้น
องค์ประกอบของ Milieu Therapy
(1) บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพของสถานที่
สถานที่
จัดบรรยากาศเหมือนบา้น หรือ สังคมภายนอก
มีห้องสา หรับการทา กิจกรรม
มีปฏิทินบอกวนั เดอืน ปี , มีนาฬิกา บอกเวลา, มีตารางเวลาทำกิจกรรม
จัดห้องนอน ห้องน ้าให้เป็นสัดส่วน คลา้ยบา้น
(2) สมาชิก
ผู้ป่วย
มีทั้งหญิงและชาย
ต้องได้รับการกระตุ้นให้เข้าร่วมกิจกรรม
มีส่วนร่วมในการบริหารหอผู้ป่วย
บุคลากรในทีมจิตเวช - มีเจตคติไปในทิศทางเดียวกัน
(3) กฎระเบียบ หรือข้อบังคับ
(4) กิจกรรม
ทุกคนมีส่วนร่วม และมีความเหมาะสมกบัผปู้่วย
ควรมีหลากหลายกิจกรรม
กำหนดตารางเวลากิจกรรม
จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม ควรมีความเหมาะสม
กิจกรรมบำบัด (Activity Therapy)
วัตถุประสงค์ของการทา กิจกรรมบำบัด
1.ประเมินอาการและพฤติกรรม
2.ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกผ่อนคลายความตึงเครียด และได้ร้บความ ช่วยเหลือแก้ป้ญหา
3.ให้ผู้ป่วยได้เ้รียนรู้การสร้างสัมพนัธภาพที่ดี สามารถปรับตัวอยู่ใน สังคมได้อย่างเหมาะสม
ส่งเสริมความเชื่อมั่นในตนเอง และพลังอำนาจในตนเอง
ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหา
เตรียมผปู้่วยกลบัคนืสู่สังคม
องค์ระกอบของกิจกรรมบำบัด
(1) สถานที่ ex. กิจกรรมความรู้ทำในห้อง, ศิลปะ กีฬา นันทนาการ ทำ นอกห้อง
(2) ผู้นำกลุ่ม
สร้างและคงไว้ซึ่งความเป็นกลุ่ม : คิด วางแผนกิจกรรม สร้าง วัตถุประสงค์ คัดเลือกสมาชิก กำหนดการพบปะกันของสมาชิก สร้างข้อตกลงในกลุ่ม
การสร้างบรรทดัฐานของกลุ่ม
การกระตุ้นให้สมาชิกอยู่กบัปัจจุบัน
มีความเชี่ยวชาญทางด้านสุขภาพ(โรค) การรักษา(ยา)
(3) สมาชิกกลุ่ม
จัดสมาชิกเข้าร่วม ไม่มีหลักการที่แน่นอน ขึ้นกับวัตถุประสงค์
ไม่มากไม่น้อยเกินไป(12-15คน) ยกเว้นนันทนาการ/กีฬา
ขั้นตอนการดำเนินกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ขั้นเริ่มต้น/ระยะสร้างสัมพันธภาพ
ผู้นำ กลุ่มกล่าวเปิด แนะนำ ตัว บอกวัน เวลา สถานที่ ชื่อกลุ่ม เวลาที่ ใชใ้นการทำ กิจกรรม วัตถุประสงค์กติกาและข้อตกลงร่วมกัน
ขั้นดำเนินการ : ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ กระตุ้นให้มีส่วนร่วม ในกิจกรรมมากที่สุด
ขั้นสิ้นสุดการทำกลุ่ม : ประเมินความรู้สึกของสมาชิก ประโยชน์ ผู้นำ กลุ่มสรุปเพิ่มเติม ขอบคุณสมาชิก และปิดกลุ่ม
•
เทคนิคและการสื่อสารที่ใช่ในกลุ่มกิจกรรมบำบัด
เปิดโอกาสให้สมาชิกทุกคนได้แสดงความคิดเห็น
พูดเชื่อมโยงประเด็น
-หลีกเลี่ยงการกระทำ /สนทนาในลักษณะแบบหนึ่งต่อหนึ่งในกลุ่ม
-ประเมินการทำกลุ่ม
ลักษณะของผู้ป่วยในกลุ่มกิจกรรมบำบัด
Dominant Patient : มักแสดงตัวเป็นจุดเด่น
บทบาทของพยาบาลใน Activity Therapy
ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ป่วยสนใจกิจกรรม
วางแผนการจัดกิจกรรม กระตุ้นสมาชิก และยับยั้งพฤติกรรมที่ รบกวนกลุ่ม
ให้กำลังใจ และส่งเสริมให้ผู้ป่วยมั่นใจในตนเอง
สร้างบรรยากาศกลุ่มให้เป็นมิตร
เป็นตัวแบบที่ดีแกผู้้ป่วย สังเกต และยืดหยุ่ยได้ตามความเหมาะสม
การจำกัดสิทธิ และพฤติกรรม
ประเภทผู้ปู้่วย
ควบคุมพฤติกรรมจนเองไม่ได้
อยู่ในภาวะมึนงง สับสน การรับรู้เสีย
ก้าวร้าว เอะอะอาละวาด คลุ้มคลั่ง
คิดหนีออกจากโรงพยาบาล - มี 3 ระดับ 1.ใช้คำพูด (verbal restraint) พูดสะท้อนพฤติกรรม เพื่อให้หยุด หากผู้ป่วยไม่หยุดพฤติกรรมนั้นจะต้องผูกยึดร่างกาย ต่อไป 2.ผูกยึดร่างกาย (physical restraint) ผู้ยึด4จุด ข้อมือ2ข้าง ,ข้อเท้า2ข้าง เพิ่มผ้าคาดอกผูกยึดผู้ป่วยไวักับเตียง
3.ใช้ยา (chemical restraint) ฉีดIM ในรายที่มีพฤติกรรม ก้าวร้าวรุนแรง
การประเมินผล
การมีปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกกลุ่ม
การสื่อสารด้วยภาษาท่าทาง
การช่วยเหลือ และการแก้ป้ญหาของผู้นำ กลุ่ม
ประเด็นในการสนทนา
*วิธีการ
1.restraint เพื่อป้องกันอันตรายต่อตัวผู้ป่วยและผู้อื่น
ข้อบ่งชี้ : พฤติกรรมรุนแรง วุ่นวาย สับสน ทำร้ายตนเองหรือคนอื่น
ข้อห้าม : เพื่อการทำโทษ
2.นำเข้าห้องแยก : ห้องเงียบสงบ มีนาฬิกาไว้สูงพอเอื้อมไม่ถึง
ข้อบ่งชี้ : อยู่ไม่นิ่ง เกิดอันตรายต่อผู้อื่น มีอาการกระวนกระวายมากขึ้น เนื่องจากถูกกระตุ้นโดยสิ่งแวดลอ้ม
ข้อห้าม : ไม่ใช้ในผู้ป่วยที่คิดจะฆ่าตัวตาย