Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดา G1P0P0A0L0 Premature Rupture of Membranes with Fail Induction with…
มารดา G1P0P0A0L0 Premature Rupture of Membranes with Fail Induction with Low cervical cesarean section
การผ่าตัดหน้าท้อง
Cesarean section (วราพร มีแก้ว,2565)
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับมารดาและทารกจากการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (วราพร มีแก้ว,2565)
-
-
จากเคสกรณีศึกษา
- ผู้คลอดเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึกแบบ Regional Anesthesia โดยวิธี spinal block เนื่องจากผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
A1: spinal block เป็นวิธีการระงับความรู้สึกโดยการฉีดยาเข้าสู่ subarachnoid space โดยยาชาจะออกฤทธิ์ที่ spinal nerve และ dorsal ganglion (ที่ spinal cord เอง พบว่า concentration ของยาชาต่ำเกิดนกว่าจะทำให้เกิด clinical effect) ทำให้เกิดอาการชาและขยับส่วนล่างของร่างกายไม่ได้อยู่ ชั่วระยะเวลาหนึ่งตาม dermatome ที่ยาชาออกฤทธิ์ ซึ่งยาชาแต่ล่ะชนิดมีระยะเวลาการออกฤทธิ์ยาวนานแตกต่างกัน (พิชยา ไวทยะวิญญ, 2556)
A2 : ภาวะแทรกซ้อนขณะใช้ยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลัง ร้อยล่ะ 69.2 มีภาวะความดันโลหิตต่ำ รองลงมา คือภาวะคลื่นไส้อาเจียน อาการคันตามร่างกาย และภาวะหนาวสั่ย ตามลำดับ
-
-
ทารก
การขาดออกซิเจน การบาดเจ็บจากปลายมีดขณะผ่าตัดกรีดผนังมดลูก หรือได้รับบาดเจ็บในกรณีที่ใช้คีมช่วยนำศีรษะทารกออกจากอุ้งเชิงกราน มีโอกาสเกิดปัญหาของระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากทางเดินหายใจของทารกไม่ผ่านกลไกการบีบรัดจากหนทางคลอด ทารกจึงมีโอกาสสำลักน้ำคร่ำขณะนำทารกออกมาจากโพรงมดลูก
-
Induction (วราพร มีแก้ว,2565)
-
-
ข้อมูลด้านทารก
-
ข้อวินิฉัยทางการพยาบาล
-
-
ทารกแรกเกิดเสี่ยงต่อการเกิดภาวะHypothermia, Hyperthermia เนื่องจากศูนย์ควบคุมอุณหภูมิในทารกแรกเกิดยังทำงานไม่สมบูรณ์
-
A1 : ทารกแรกเกิดจะมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิกายตามสิ่งแวดล้อม ถ้าทารกอยู่ในที่ที่มีอุณหภูมิต่ำหรือสูงก็จะมีอุณหภูมิของร่างกายต่ำหรือสูงตามไปด้วย ทั้งนี้เพราะทารกมีความสามารถจำกัดในการปรับตัวเพื่อรักษาระดับอุณหภูมิกายให้คงที่ส่งผลให้อุณหภูมิแกนกลางของร่างกาย (core body temperature) มีการเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป โดยอาศัยประสาทรับความรู้สึก (thermo receptor) ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิในไฮโปธาลามัส และอวัยวะต่างๆ ระบบที่ถูกกระทบจะมีการตอบสนองโดยการขยายหรือมีการหดรัดตัวของหลอดเลือดมีการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเผาผลาญมีการขับเหงื่อและการหนาวสั่น ซึ่งประสาทรับความรู้สึกมีอยู่ทั่วไปใต้ผิวหนังแต่ประสาทรับความรู้สึกเย็น (Cold receptor) พบได้มากบริเวณใบหน้ามือมากกว่าบริเวณอื่นๆ และยังพบบริเวณลิ้นอวัยวะทางเดินหายใจไขสันหลัง และที่ไฮโปธาลามัสเองเมื่อได้รับความเย็นจึงมีการตอบสนองมากบริเวณเหล่านี้ (พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา, 2560)
-
-
PROM ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
(ฉวี เบาทรวง, 2560)
อาการและอาการแสดง
ส่วนใหญ่สตรีตั้งครรภ์รู้สึกมีน้ำใส ๆ หรือสีเหลืองจาง ๆ ไหลออกทางช่องคลอดทันทีจนเปียกผ้านุ่ง โดยไม่มีอาการเจ็บครรภ์ หรือก่อนที่จจะมีอาการเจ็บครรภ์ แต่บางรายอาจไหลซึมเล็กน้อยตลอดเวลา หรือไหลแล้วหยุดไป (ฉวี เบาทรวง, 2560)
-
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
(ฉวี เบาทรวง, 2560)
Fern test เป็นทดสอบโดยนำน้ำในช่องคลอดป้ายลงบนแผ่นสไลด์ ทิ้งไว้ให้แห้ง แล้วส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ให้ผลบวกเมื่อพบผลึกรูปใบเฟิร์น ซึ่งเกิดจากส่วนประกอบของ electrolytes โดยเฉพาะ NaCl ที่แห้งแล้วจับตัวเป็นผนึก อาจพบผลลบลวงได้ในกรณีที่มีการปนเปื้อนของมูก เลือด ขี้เทา หรือน้ำยาหล่อลื่น
Nitrazine paper test เป็นการทดสอบความกรด-ด่าง โดยน้ำในช่องคลอดมีฤทธิ์เป็นกรดและมี pH< 4.5 (3.8-4.2) และมูกที่ปากมดลูกและปัสสาวะมี pH 4.5 – 6.0 ซึ่งให้ผลลบโดยกระดาษไนตราซีนสีเหลืองจะไม่เปลี่ยนสีหรือเปลี่ยนเป็นสีเขียว ส่วนน้ำคร่ำมีฤทธิ์เป็นด่างและมี Ph 7.0-7.3 ซึ่งให้ผลบวก คือกระดาษเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินหรือสีกรมท่า การตรวจวิธีนี้เป็นผลลวงเกิดจากการปนเปื้อนของเลือด น้ำอสุจิ สบู่หรือน้ำยา หรือการติดเชื้อที่มีฤทธิ์เป็นด่าง ส่วนผลลบลวงเกินจากน้ำในช่องคลอดมีมากจนน้ำคร่ำเจือจางหรือน้ำคร่ำที่ใช้ทดสอบมีปริมาณน้อยมาก
Nile blue test เป็นการตรวจดูเซลล์ไขมันของทารกในครรภ์ โดยนำในช่องคลอด 1 หยดผสมกับ 0.1 % Nile blue test sulfate 1 หยด ใส่ลงบนสไลด์ ปิดด้วย cover slip ลนไฟเล็กน้อยแล้วส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ถ้าเป็นน้ำคร่ำจะพบเซลล์ไขมันในทารกติดสีแสดไม่มี nucleus ส่วนเซลล์อื่น ๆ ติดสีน้ำเงิน การทดสอบวิธีนี้ไม่มีผลบวกลวง แต่อาจมีผลลบลวงได้ในกรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 32 – 34 สัปดาห์ เนื่องจากเซลล์ไขมันของทารกมีน้อย
-
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง ถ้าตรวจพบน้ำคร่ำมีปริมาณน้อยมาก หรือน้ำคร่ำแห้ง ร่วมกับมประวัติถุงน้ำคร่ำแตกอย่างชัดเจนจะช่วยยืนยันการวินิจฉัย หากปริมาณน้ำคร่ำลดลงไม่มากจะวินิจฉัยได้ยาก เนื่องจากอาจเกิดจากสาเหตุอื่น
-
การรักษา
(สุภาพ ไทยแท้, 2555)
มีการยืนยันการวินิจฉัยภาวะถุงน้ำคร่ำรั่วหรือแตก
1.1 การซักประวัติ ซักถามเกี่ยวกับ ลักษณะสี กลิ่น และปริมาณของนำคร่ำที่ไหลออกมา เพื่อวินิจฉัยแยกจากน้ำในปัสสาวะน้ำหรือเมือกในช่องคลอด หรือมูกจากปากมดลูก
-
-
-
-
ประเมินอายุครรภ์ที่แน่นอน ถ้าอายุครรภ์ที่แน่นอน ถ้าอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไปพิจารณาให้คลอด ในกรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์จะให้การรักษาแบบเฝ้าระวัง
-
ประเมิน lung maturity โดยวิธีต่าง ๆ เช่น shake test หรือ foam test ให้ผลบวกตั้งแต่ 3 ใน 5 หลอดทดลอง การหาค่า Lecithin/Sphingomyelin ได้ค่ามากกว่า 2 : 1 การตรวจพบ phosphatidylgycerol มากกว่าร้อยละ 3 แสดงว่าทารกมีโอกาสเสี่ยงต่อภาวะ RDS น้อยมาก
-
ประเมินการติดเชื้อ หากมีการติดเชื้อ อาจพิจารณาชักนำการคลอด
ในเคสนี้แพทย์ได้พิจารณาให้การชักนำการคลอดเป็น 5%DN/2 1000 ml + synto 10 unit vein drip 6 cc/hr. tritrae ทุก 30 นาทีL
การชักนำการคลอด
ข้อบ่งชี้ (สุภาพ ไทยแท้, 2555)
ด้านมารดา
- ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ โดยเฉพาะภาวะครรภ์เป็นพิษชนิดรุนแรง หรือภาวะชัก
-
-
- ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกหรือรั่วก่อนอายุครรภ์ครบกำหนด
-
-
-
-
- ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรมของมารดา เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง รวมถึงมารดาที่เป็นโรคมะเร็งและต้องได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัดหรือรังสีรักษาเร่งด่วน
-
ทารก
-
-
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ควรตั้งครรภ์ยุติลงเนื่องจากผู้คลอดจะมีความวิตกกังวลและทุกข์ใจที่จะตั้งครรภ์ต่อไป
-
-
ข้อห้าม
(สุภาพ ไทยแท้, 2555)
2 แบบ
- ไม่ควรชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์โดยเด็ดขาด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการชักนำการคลอด (ศิริวรรณ แสงอินทร์, 2557)
อายุครรภ์ พบว่า ความสำเร็จของการชักนำการคลอดขึ้นอยู่กับอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น ทำให้มดลูกและปากมดลูกมีความพร้อมต่อการคลอดเพิ่มมากขึ้น
-
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์และการคลอดบุตร พบว่าผู้คลอดที่เคยคลอดบุตรมาก่อนจะพบความสำเร็จของการชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์มากกว่าผู้คลอดที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน (สุภาพ ไทยแท้, 2555)
-
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์และการคลอด มารดาหลังคลอดปากมดลูกมักจะนุ่มและเปิดขยายบ้างแล้วเมื่อเปรียบเทียบกับมารดาครรภ์แรก ทำให้ง่ายต่อการกระตุ้น (ศิริวรรณ แสงอินทร์ ,2557)
ความพร้อมของปากมดลูกและระดับของส่วนนำ การประเมินความพร้อมของปาดมดลูกและระดับของส่วนนำเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการบอกความสำเร็จของการชักนำการคลอดวิธีที่นิยมใช้โดยทั่วไป คือ การประเมินสภาพก่อนการเจ็บครรภ์โดยใช้ระบบการให้คะแนนของ Bishop (ศิริวรรณ แสงอินทร์, 2557)
-
การให้
ใช้ในการชักนำการคลอดและการเร่งคลอดที่มีความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า (สุภาพ ไทยแท้, 2555)
-
-
การให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด พบในราย PPROM ไม่สามารถยืดอายุครรภ์ได้จริง อาจพิจารณาให้เฉพาะรายที่ชะลอเวลาเพื่อให้ยาสเตอรอยด์ออกฤทธิ์กระตุ้นปอดของทารก
-
การให้ยา Antibiotics ในกรณีที่มีการติดเชื้อแล้วจะให้การรักษา ส่วนในกรณีที่ยังไม่มีการติดเชื้อจะให้เพื่อป้องกัน ซึ่งนอกจากจะช่วยลดการติดเชื้อทั้งในมารดาและทารกแล้วยังช่วยยืดอายุครรภ์ เนื่องจากยามีผลให้ latent period นานขึ้น โดยใน 48 ชั่วโมงแรกให้ ampicillin 2 กรัม ร่วมกับการรับประทาน erythromycin 500 มิลลิกรัม ทุก 6 ชั่วโมง และตามด้วยรับประทานยา amoxicillin 500 กรัม และ erythromycin 500 มิลลิกรัม ทุก 6 ชั่วโมงนาน 5 วัน
-
ในมารดารายนี้ 5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลมารดามีน้ำใส ๆ ไหลออกทางช่องคลอด ร่วมกับท้องปั้นแข็งเป็นช่วง ๆ ไปตรวจที่โรงพยาบาลปากคาด Fern test Neg ไม่สบายใจขอมารับการรักษาที่โรงพยาบาลบึงกาฬ มา Admit ที่ LR เวลา 02.30 น.
-
ผลกระทบ
มารดา
มีโอกาสติดเชื้อในโพรงมดลูกและถุงน้ำคร่ำ การติดเชื้อถุงน้ำคร่ำ การติดเชื้อในกระแสเลือด เพิ่มอุบัติการณ์การผ่าตัดคลอด
ภาวะติดเชื้อของมดลูก (ฉวี เบาทรวง, 2560)
เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น ถุงน้ำคร่ำอักเสบ มดลูกอักเสบ การติดเชื้อในกระแสเลือด ความเสี่ยงนี้จะเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาของการมีถุงน้ำคร่ำแตก
(สุภาพ ไทยแท้, 2555)
ทารก
การติดเชื้อในกรแสเลือด กลุ่มอาการผิดปกติต่าง ๆ ของทารก ภาวะขาดออกซิเจน (asphyxia) จากการสายสะดือถูกกดเนื่องจากน้ำคร่ำน้อย สายสะดือย้อย (prolapsed cord ) พบได้มากในรายที่ศรีษะทารกมีขนาดเล็ก การคลอดก่อนกำหนด ทารกมีปัญหาเรื่องปอดเจริญไม่เต็มที่ ภาวะเลือดออกในสมอง มีผลทำให้ทานกเสียชีวิตภายหลังคลอดได้ หากถุงน้ำคร่ำแตกก่อนอายุครรภ์ครบ 24 สัปดาห์ หลัง 24 สัปดาห์ ทารกมีโอกาสเกิดภาวะดังกล่าวน้อย
(สุภาพ ไทยแท้,2555)
การติดเชื้อของทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด การติดเชื้อในกระเลือด กลุ่มอาการผิดปกติของทารก ภาวะ hypoxia ภาวะ perinatal asphyxia เนื่องจากน้ำคร่ำน้อย สายสะดือถูกกด การติดเชื้อ การคลอดก่อนกำหนด ภาวะแทรกซ้อนของการคลอดก่อนกำหนด ได้แก่ อาการหายใจลำบาก (ฉวี เบาทรวง, 2560)
-
ในมารดารายนี้ 5 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลมารดามีน้ำใส ๆ ไหลออกทางช่องคลอด ร่วมกับท้องปั้นแข็งเป็นช่วง ๆ ไปตรวจที่โรงพยาบาลปากคาด Fern test Neg ไม่สบายใจขอมารับการรักษาที่โรงพยาบาลบึงกาฬ มา Admit ที่ LR เวลา 02.30 น.
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์ คือภาวะที่ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอด พบได้ทั้งในอายุครรภ์ครบกำหนด คือถุงน้ำคร่ำแตกเมื่ออายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 37 สัปดาห์ แต่ปัจจุบันพิจารณาจากระยะเวลาที่ถุงน้ำคร่ำแตกนานกว่า 18 - 24 ชั่วโมงโดยมีหรือไม่มีอาการเจ็บครรภ์ก็ได้ (ฉวี เบาทรวง, 2560)
ปัจจัยการเกิด
- ปากมดลูกปิดไม่สนิท
- คอมดลูกมีการอักเสบ
- ถุงน้ำคร่ำอักเสบ
- รกเกาะต่ำ
- ทารกที่มีโครโมโซม
- ทารกที่มีส่วนนำผิดปกติ
- มดลูกตึงตัวมาก
- การฉีกขาดหรือกระเทือนที่ยริเวณมดลูก
- ประวัติเคยทำแท้ง
- รกลอกตัวก่อนกำหนด
- การทำหัตถการต่าง ๆ เช่น การเจาะถุงน้ำคร่ำ
- ขาดวิตามินซี ทำให้ถุงน้ำคร่ำไม่แข็งแรง
- สูบบุหรี่และดื่มเหล้าประจำ
- เศรษฐานะต่ำ
(สุภาพ ไทยแท้, 2555)
-
กรณีศึกษา
-
-
-
ข้อมูลส่วนบุคคล
-
สามี
สามีผู้คลอด นายวิเชียร (นามสมมุติ) อายุ 23 ปี ระดับการศึกษา ประถมศึกษาปีที่ 6
อาชีพ ไม่มีงานทำ รายได้ - บาท/เดือน
-
แรกรับ
วันที่รับไว้ในความดูแล วันที่ 9 กรกฎาคม 2566 เวลา 15.00 น. วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล วันที่ 9 กรกฎาคม 2566 เวลา 02.30 น.
-
-
-
เนื่องจากการชักนำการคลอดล้มเหลว (ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย, 2565)
โดยทั่วไประยะเวลาคลอดจะยาวนานกว่าในรายที่ชักนำการคลอด ค่าเฉลี่ยของการคลอดเท่ากับ 16-17 ชั่วโมงในครรภ์แรก
-
-
-
-
-