Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อม กฏหมายที่สำคัยด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม -…
นโยบายด้านการอนามัยสิ่งแวดล้อม กฏหมายที่สำคัยด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
นโยบายทางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของไทย
ประเด็นปฎิรูปประเทศไทยด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมของสภาปฎิรูปแห่งชาติ
เทคโนโลยีการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
นำ้เสีย
ปรับปรุงกฏหมายการคัดแยกขยะ
กำจัดขยะมูลฝอย ด้วยหลัก ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย
ติดตามและเฝ้าระวังการลักลอบทิ้งสารอันตรายจากอุตสาหกรรม และมูฝอยติดเชื้อในสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อประชาชน
แผยยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุชภาพและอนามัยสิ่วแวดล้อม ระยะ 5 ปี (2566-2570)
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1
อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
ระบบคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพมีประสิทธิภาพ - ศูนย์กลางข้อมูลและสารสนเทศด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม - ประชาสังคมและผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ทางสุขภาพ
ประเด้นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยและอนามัยสิ่งแวดล้อมสู่เมืองสุขภาพที่ดี
ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ
ประชาชน สังคม ชุมชน องค์กร มีความรู้ ความสามารถด้านสุขภาพและพัฒนาตนเองตลอดช่วงชีวิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ยกระดับองค์กรสู่ความเป็้นเลิศ และมีธรรมาภิบาล
ศูนย์ความเชี่ยวชาญด้านดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและส่งส่งเสริมสุขภาพขั้นสูงของประเทศ
องค์กรคล่องตัว น่าอยู่ น่าทำงาน และมีธรรมาภิบาล
แนวทางการบริหารจัดหารจัดการงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน
แหล่งกำเนิด(source) -------ทางผ่าน(pathway)----------ตัวรับ(recepter)
เวลาที่แก้ปัญหา ควรแก้ที่ แหล่งกำเนิด อันดับดับแรก เพราะถ้าแหล่งกำเนิดหรือสิ่งที่ก่อความรำคาญถูกแก้ออกไปตัวกลาง ผลกระทบ ก็ไม่เกิดขึ้น
อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
4.อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
จุดมุ่งหมาย
ลดการผลิตก๊าซเรือนกระจก
พร้อมวางมาตรการรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
เกิดจากความพยายามในการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ที่มาจาก
ภาวะเรือนกระจก
3.อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของ ของเสียอันตรายและการกำจัด
จุดมุ่งหมาย
ควบคุมการนำเข้า - ส่งออกของเสียข้ามแดน ให้เกิดความปลอดภัยและไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
2.อนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน(POPs)
การลดละเลิกการผลิต การใช้ สาร POPs
จุดมุ่งหมาย
คุ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากสารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน( สาร POPs)
1.อนุสัญญารอตเตอร์ดัม
จุดมุ่งหมาย
ส่งเสริมความร่วมมือและรับผิดชอบระหว่างประเทศด้านการค้าและการใช้สารเคมี
กระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้า
การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การส่งเสริมบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม
ด้านปัญหาที่พบ
บุคลากรขาดประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ
มีการบังคับใช้กฏหมายสูงสุดแต่ยังต้องการ การสนับสนุนด้านความรู้และเทคโนโลยีที่จะช่วยแก้ปัญหา
บุคลากรไม่พอ
ด้านการพัฒนาท้องถิ่นต้นแบบ
กรมควบคุมมลพิษส่งเสริมการพัฒนา อปท.เป็น
เมืองสวยไร้มลพิษ
กรมอนามัย+กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นสนับสุนการพัฒนาคุณภาพ
ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท.
สมาคมสันนิบาตไทย+ภาคีส่งเสริมการพัฒนาเทศบาลไทยสู่
เมืองคาร์บอนตำ่
องค์กรและกฏหมายที่สำคัญด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
กฏหมายรัฐธรรมนูญ
ประชาชนมีความรู้พื้นฐานในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
กำหนดให้ บุคคลร่มมือและสนับสนุน อนุรักษ์ และคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน
พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ
ให้ อบจ. เทศบาล เมืองพัทยา กรุงเทพ และอบต จัดระบบบริการสาธารณะ ดังนี้
การกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล
การบำบัดนำ้เสีย
การจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษ
พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550
จัดทำแผนนโยบาย
พรบ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยบ้านเมือง 2534
-ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองที่ดินดูแล -ไม่ให้ทิ้งสิ่งปฏิกูลที่สาธารณะ