Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 การเชื่อมต่อเครือข่าย : - Coggle Diagram
บทที่3 การเชื่อมต่อเครือข่าย
:
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย หมายถึงการสร้างเส้นทางการสื่อสารเพื่อส่งข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์หนึ่ง แบ่งออกเป็น2รูปแบบคือ
1.การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด(Point to point)
2.การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบหลายจุด(Multi Point
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบจุดต่อจุด
เป็นการเชื่อมต่อสื่อกลางระหว่างอุปกรณ์ 2 เครื่องเท่านั้น หากอุปกรณ์ใดไม่มีสื่อกลางเชื่อมต่อถึงกัน จะต้องติดต่อสื่อสารผ่านอุปกรณ์ที่อยู่ติดกัน เพื่อส่งข้อมูลเป็นทอดๆไป จนถึงอุปกรณ์ปลายทาง
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย หมายถึงลักษณะหรือรูปทรงในการเชื่อมต่ออุปกรณ์การสื่อสารต่างๆ ในเครือข่าย แบ่งออกเป็นลักษณะต่างๆ
การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบหลายจุด
เป็นการเชื่อมต่อเครือข่าย โดยช่องสัญญาณของสื่อกลางเดียว แต่สามารถเชื่อมโยงอุปกรณ์ได้หลายเครื่องพร้อมๆกัน ซึ่งข้อมูลที่ส่งออกมาจากผู้ส่งจะแพร่กระจายไปยังทุกจุดในช่องสัญาณนั้น
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว
(Star Topolgy)
-โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยใช้วิธี Star Hub
-โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยใช้วิธี Switched Hub
-โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยใช้วิธี Daisy Chain Hub
-โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบดาว โดยใช้วิธี Cascade Hub
ข้อเสีย
-มีโอกาสที่เครือข่ายเกิดการล้มเหลวทั้งระบบ
-ต้องใช้สื่อการจำนวนมาก ค่าใช้จ่ายสูง
ข้อดี
-เปลี่ยนแปลงรูปแบบการวางสายได้ง่าย
-ตรวจสอบจุดที่มีปัญหาได้ง่าย
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส(Bus Topology)
-โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Multi-drop
-โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส วิธี Daisy Chain
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม
(Hybrid Topology)
ข้อดี
-ใช้สื่อกลางน้อย
-มีความเชื่อถือได้สูง
-สามารถขยายระบบได้ง่าย
ข้อเสีย
-ตรวจสอบจุดที่มีปัญหาได้ยาก
-ประสิทธิภาพของระบบลดลง ถ้ามีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายจำนวนมาก
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบวงแหวน
**
(Ring Topology)**
ข้อดี
-มีความเชื่อถือได้สูง
-ใช้สื่อกลางน้อย
ข้อเสีย
-การเปลี่ยนแปลงเครือข่าย เช่น การเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำได้ยาก
-ตรวจสอบจุดที่มีปัญหาได้ยาก