Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สมดุลเคมี Chemical equilibrium, image, image, image, image, image, image,…
สมดุลเคมี
Chemical equilibrium
ความหมาย
ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้
การเปลี่ยนสถานะสาร
การเกิดสารละลาย
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
อยู่ในสภาวะสมดุล
อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
(Rx ข้างหน้า= Rxย้อนกลับ)
จัดเป็นสมดุลไดนามิกส์
Rx ข้างหน้า= Rxย้อนกลับ
ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
ระบบไม่หยุดนิ่ง เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
เงื่อนไขของสภาวะสมดุล
เกิดในระบบปิดเท่านั้น
สมดุลจะต้องเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
Rx ข้างหน้า= Rxย้อนกลับ
ทุกระบบจะมีสารตั้งต้นเหลืออยู่
ค่าของระบบนั้นจะคงที่ เช่น [ ] คงที่
การเข้าสู่สภาวะสมดุล
การเขียนกราฟ 2 แบบ
ความเข้มข้นกับเวลา
ที่สมดุลความเข้มข้นสาร A > B
ที่สมดุลความเข้มข้น B > A
ที่สมดุลความเข้มข้น A = B
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับเวลา
ประเภทสมดุลเคมี
สมดุลเอกพันธ์
สารทั้งหมดอยู่สถานะเดียวกัน (วัฏภาคเดียวกัน)
สมดุลวิวิธพันธ์
สารอยู่คนละสถานะกัน (ต่างวัฏภาค)
ค่าคงที่สมดุล, K
ค่า K ต่อปฏิกิริยา
K > 1 หรือ K มาก
ปฏิกิริยาไปข้างหน้า :สารผลิตภัณฑ์มากกว่า
K < 1 หรือ K น้อย
ปฏิกิริยาย้อนกลับ : สารตั้งต้นมากกว่า
การคำนวนค่า K
สมการกลับด้าน
ปฏิกิริยาย้อนกลับ
ปฏิกิริยา * ด้วย n เท่าทั้งสมการ
ปฏิกิริยารวมหลายขั้นตอนแบบ + กัน
ปฏิกิริยาหารด้วย n เท่าทั้งสมการ
ปฏิกิริยารวมหลายขั้นตอนแบบ - กัน
ประเภท
Kc: ความเข้มข้น
สถานะ aq,g
Kp: ความดัน
สถานะ g
ค่า K ขึ้นอยู่กับ
ความเข้มข้น
อุณหภูมิ
ปริมาตร
ความดัน
ตัวเร่งปฏิกิริยา
หลักของอองรี-ลุย เลอชาเตอลิเอ
"เมื่อระบบที่อยู่ในภาวะสมดุลถูกรบกวนด้วยปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลของระบบ ระบบจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่จะลดผลของการรบกวนนั้น เพื่อให้ระบบกลับเข้าสู่สมดุลใหม่อีกครั้งหนี่ง"
ประเภทของการรบกวนสมดุลของระบบ
การเพิ่ม/ลดความเข้มข้น
สารตั้งต้น
เพิ่ม
Rx ไปข้างหน้า, ผลิตภัณฑ์เพิ่ม
ลด
Rx ไปข้างย้อนกลับ, สารตั้งต้นจะเพิ่ม
สารผลิตภัณฑ์
เพิ่ม
Rx ไปข้างย้อนกลับ, สารตั้งต้นจะเพิ่ม
ลด
ปฏิกิริยาไปข้างหน้า
การเพิ่ม/ลดปริมาตร,ความดัน
เพิ่มปริมาตร/ลดความดัน
ระบบต้องลด V จึงต้องเพิ่ม P ด้วยไปปฏิกิริยาไปทางที่จำนวนโมลรวมมากกว่า
ลดประมาตร/เพิ่มความดัน
ระบบต้องเพิ่ม V จึงต้องลด P ด้วยไปปฏิกิริยาไปทางที่จำนวนโมลรวมน้อยกว่า
กรณีจำนวนโมล สารตั้งต้น=ผลิตภัณฑ์ การเปลี่ยนแปลง P ไม่มีผล
การเพิ่ม/ลดอุณหภูมิ
ปฏิกิริยาดูดพลังงาน
เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มพลังงานให้โมเลกุล/ปฏิกิริยาไปข้างหน้า
ปฏิกิริยาคายพลังงาน
เพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาย้อนกลับ
การเติมตัวเร่งปฏิกิริยา
ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสมดุล
ตัวเร่งทำให้เข้าสู่ภาวะสมดุลเร็วขึ้น