Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตายเฉียบพลัน (acute myocardial infarction),…
ภาวะหลอดเลือดหัวใจตายเฉียบพลัน
(acute myocardial infarction)
ทำให้เมตาบอลิซึมของเซลล์เปลี่ยนแปลง
ทำให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกเกิดขึ้นทันทีเป็นนานมากกว่า 20 นาที
เจ็บร้าวไปที่กรามขวา หายใจไม่สะดวก
มีอาการเจ็บแน่นหน้าอกด้านซ้าย
เหมือนถูกของทับหน้าอก มากกว่า20 นาที
ST elevate myocardial infarction (STEMI)
EKG ST Elevation หรือ
พบ new Left bundle branch block (LBBB)
EKG : wave in Lead II show normal sinus rhythm tachycardia rate 112/min, wave in ST-T elevate
in V4-V6 with anterolateral wall MI
แปลผล อัตราการเต้นของหัวใจ 112 ครั้ง/นาที ช่วง V4-V6 คลื่น ST ยก ซึ่งสามารถบ่งบอกได้ว่ามีผนังกล้ามเนื้อหัวใจตาย
มี Cardiac marker
Troponin T มากกว่าหรือเท่ากับ 0.2 ng/mL
Troponin T positive
CK-MB >25 U/L
Creatinine kinase MB (CK-MB) 162 U/L
Non-ST elevate myocardial infarction (NSTEMI) EKG พบ ST Depressionหรือ T wave inversion
เกิดจากความผิดปกติของผนังหลอดเลือดแดง โคโรนารีท่ีแข็ง (atherosclerosis)
เมื่อก้อนไขมัน (plaqe) มีการแตกออกของคอลลาเจน (collagen) ที่เป็นส่วนประกอบของผนังหลอดเลือด
จะมีการกระตุ้นการทำงานของเกล็ดเลือด (platelet aggregation)
ทำให้เกิดการจับตัวเป็นก้อนสีขาว(whiteclot)
ต่อมามีปัจจัยด้านเน้ือเยื่อ(tissuefactor) กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเก่ียวกับกลไกการแข็งตัวของเลือด (coagulation factor)
รวมตัวกันเป็นลิ่มเลือด (thrombus)
ถ้าขนาดลิ่มเลือดใหญ่จนอุดตันทั้งหมด (occlusive thrombus) จะทำให้เกิดภาวะกล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลงและขาดออกซิเจน
การทำหน้าที่ของหัวใจถูกขัดขวางจากการขาดเลือดทำให้เกิดการบาดเจ็บและเซลล์ตาย
โรคประจำตัว
โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension )
แรงต้านทานในหลอดเลือดสูงขึ้น
ผนังหลอดเลือดหนาตัวขึ้น มีความแข็งมากความหยืดหยุ่นลดลงและรูเล็กลง
ทำให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆลดลง
ทำให้นำไปสู่ภาวะหลอดเลือดตีบ
โรคเบาหวาน Diabetes Mellitus
ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
ทำให้การทำงานของผนังเนื้อเยื่อเอ็นโดทีเลียมเสียหน้าที่ไป
และมีเซลล์เม็ดเลือดขาวและ Plaque มาเกาะท่ีผนังหลอดเลือดเพิ่มข้ึน
ก่อให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในของหลอดเลือดเกิดการอักเสบ ของเยื่อบุภายในมีการแข็ง หนาตัวข้ึนและตีบ