Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กำลังการคลอดผิดปกติ, IMG_5366, IMG_5368, IMG_5367 - Coggle Diagram
กำลังการคลอดผิดปกติ
ความผิดปกติของเเรงเบ่ง (Ineffective maternal bearing down effort/Secondary power)
การเบ่งที่ไม่มีประสิทธิภาพ
เกิดในระยะที่สองของการคลอด
สาเหตุ
เบ่งไม่ถูกวิธี
ไม่กล้าเบ่ง กลัวฝีเย็บฉีกขาด
ได้รับยาระงับความรู้สึกในระยะคลอด
ตัวยาจะลด Reflex
รู้สึกอยากเบ่งลดลง
มีอาการเหนื่อยล้าจากการคลอดที่ยาวนาน
ได้รับสารน้ำเเละสารอาหารไม่เพียงพอ
ไม่มีเเรงเบ่ง
ท่าขอบการเบ่งไม่ถูกต้อง
ไม่เอื้อต่อการเคลื่อนต่ำของส่วนนำของทารก
ท่าที่ช่วยให้เเรงเบ่งเพิ่มขึ้น
Upright position
ท่านั่งยอง (squatting position)
ท่านั่งโน้มตัวไปข้างหน้า (leaning forward position)
การประเมินเเละวินิจฉัย
ผู้คลอดเบ่งสั้น
เบ่งนานเกิน
เข่งเเล้วหน้าเเดง
เบ่งออกเสียง
ท่าในการเบ่งไม่เหมาะสม
ท่านอนหงายราบ
บิดตัวไปมาขณะเบ่ง
เเนวทางการรักษา
เเก้ไขตามสาเหตุ
เเนะนำการเบ่งคลอดที่ถูกวิธี
เบ่งคลอดในท่าที่เหมาะสม
การพยาบาล
ระยะรอคลอด เเนะนำเทคนิคการบรรเทาความปวดโดยไม่ใช้ยา
ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมด ไม่ควรให้ผู้คลอดเบ่ง
รู้สึกอยากเบ่ง
เเนะนำให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก เเละหายใจออกช้าๆ ทางปาก
ลดลมเบ่ง โดยการหายใจเเบบเร็วตื้นเเละเป่าออก หายใจช้าๆ ลึกๆ ทางจมูก 2 ครั้งเเล้วหายใจออกทางปากเร็วๆ ตื้นๆ
ซักประวัติเกี่ยวกับการเบ่งคลอด
มีประวัติได้รับยาที่ทำให้ไม่รู้สึกตัว
ได้รับยากันชัก ในราย severe pre-eclamsia
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดเเละฟัง Fetal heart sounds ของทารกในครรภ์เป็นระยะ
พบความผิดปกติให้รีบรายงานเเพทย์
ดูเเลให้ผู้คลอดอยู่ในท่าที่เหมาะสมสำหรับการคลอด
นอนหงายโดยให้ลำตัวเเละศีรษะสูงจากเเนวราบประมาณ 30 องศา ชันขาขึ้น เเยกหัวเข่าเเละเท้าออกให้กว้าง
ขณะเบ่งให้สอดมือเข้าไปใต้ข้อพับเข่าเเล้วดึงต้นขาขึ้นหาลำตัว
ยกศีรษะให้คางจรดหน้าอก
เเนะนำผู้คลอดให้เบ่งอย่างถูกวิธี
มดลูกเริ่มหดรัดตัว ให้หายใจล้างปอด
หายใจเข้าลึกๆทางจมูกเเละเป่าออกทางปากช้าๆ 1-2 ครั้ง
มดลูกหดรัดตัวเต็มที่
สูดหายใจเข้าให้เต็มที่
ปิดปากให้สนิท ยกศีรษะขึ้น
ก้มหน้าคางชิดอกเเล้วเบ่งลงที่ช่องคลอดคล้ายเบ่งอุจจาระ
เบ่งเเต่ละครั้งนาน 6-8 วินาทีไม่ควรเกิน 10 วินาที
เบ่ง 3-4 ครั้งต่อการหดรัดตัวของมดลูก 1 ครั้ง
ไม่กลั้นหายใจนานขณะเบ่ง
ดูเเลความสุขสบายในขณะเบ่ง
ใช้ผ้าชุบน้ำเย็นเช็ดใบหน้า ลำตัวเเละคอ
ความผิดปกติของเเรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
Normal labor
ระยะ Active phase
Interval 3-5 นาที
Duration 45-60 วินาที
การหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่าปกติ (Hypotonic uterine dysfunction or secondary uterine inertia)
มดลูกหดรัดตัวจังหวะปกติ เเต่หดรัดไม่เเรง
สาเหตุ
กล้ามเนื้อมดลูกมีการยืดขยายมากกว่าปกติ
ครรภ์เเฝด
ครรภ์เเฝดน้ำ
ทารกตัวโต
ผ่านการคลอดบุตรมาหลายครั้ง
มีเนื้องอกที่มดลูกหรืออุ้งเชิงกราน
ส่วนนำไม่กระชับกับช่องเชิงกราน
ทารกมีส่วนนำหรือท่าผิดปกติ
ขนาดของศีรษะทารกเเละช่องเชิงกรานมารดาไม่สัมพันธ์กัน
ได้ยาระงับความเจ็บปวดในปริมาณมาก
เจ็บครรภ์มาก
การคลอดยาวนาน
การประเมินเเละวินิจฉัย
เเรงดันภายในมดลูกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 มิลลิเมตรปรอท
Duration น้อยกว่า 40 วินาที
Interval มากกว่า 3 นาที
ความถี่ (Frequency) มีการหดตัวน้อยกว่า 3 ครั้งใน 10 นาที
Intensity น้อยถึงปานกลาง
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดา
การคลอดยาวนาน
ผู้คลอดอ่อนเพลีย มีภาวะขาดน้ำ
ตกเลือดเเละติดเชื้อหลังคลอด
ผลกระทบต่อทารก
ขาดออกซิเจนจากการคลอดยาวนาน
เกิดอันตรายจากการช่วยคลอดหรือสูติศาสตร์หัตถการ
ติดเชื้อเเละเสียชีวิต
เเนวทางการรักษา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
ให้ยาระงับปวดในเวลาเเละขนาดที่เหมาะสม
กระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดี
Oxytocin IV drip
มดลูกหดรัดตัวทุก 2-3 นาที
นานครั้งละ 45-60 วินาที
หดรัดตัวเเรง 2+-3+
เจาะถุงน้ำคร่ำ ในกรณีที่ถุงน้ำคร่ำยังไม่เเตก
ดูเเลไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็ม
การพยาบาล
ปากมดลูกเปิดไม่หมด ถุงน้ำคร่ำยังไม่เเตก เเละส่วนนำลงช่องเชิงกรานเเล้ว
กระตุ้นให้ลุกเดิน
นอนในท่าศีรษะสูง
เพื่อกระตุ้น Ferguson’s reflex ช่วยให้มดลูกหดรัดตัดีขึ้น
ดูเเลให้ได้รับสารน้ำเเละสารอาหารที่เพียงพอ
ดูเเลให้ถ่ายปัสสาวะทุก 2-4 ชั่วโมง
ปัสสาวะเองไม่ได้ให้สวนปัสสาวะ
ประเมินภาวะที่เหมาะสมต่อการเจาะถุงน้ำคร่ำเพื่อเร่งคลอด
ปากมดลูกเปิดอย่างน้อย 2 เซนติเมตร
ส่วนนำของทารกเข้าช่องเชิงกราน
ดูเเลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ติดตามเเละประเมิน Fetal heart sounds อย่างต่อเนื่อง
ถ้าพบความผิดปกติ
จัดให้มารดานอนตะเเคงซ้าย
ตรวจภายใน
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก 2-4 ชั่วโมง
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด จากมดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ (Atony bleeding)
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ (Hypertonic uterine dysfunction)
มดลูกหดรัดตัว มีเเรงดันในมดลูกโดยเฉลี่ยมากกว่า 50 มิลลิเมตรปรอท
Duration น้อยกว่า 2 นาที
มดลูกหดรัดตัวเป็นรอยคอดพยาธิสภาพ (Phathological retraction ring : Bandl’s ring)
เกิดขึ้นระหว่างมดลูกส่วนบนเเละส่วนล่าง
เกิดขึ้นหลังมดลูกหดตัวถี่ เเละมีระยะพักสั้น เป็นเวลานาน
มีสิ่งกีดขวาง
ทารกไม่สามารถเคลื่อนต่ำลงสู่ช่องทางคลอดได้
มดลูกส่วนล่างยืดขยาย เเละบางมาก
มดลูกส่วนบนมีการหดเกร็ง
เกิดเป็นรอยคอด
พบในระยะที่ 2 ของการคลอด ไม่ได้รับการเเก้ไขมดลูกเเตกได้
สาเหตุ
ศีรษะของทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ท่าขวาง
ท่าหน้าผาก
อาการเเละอาการเเสดง
มดลูกหดรัดตัวถี่ เเละรุนเเรง
ระยะพักสั้น/ไม่มีระยะพัก
ผู้คลอดมีอาการเจ็บปวดมาก เมื่อสัมผัสหน้าท้องส่วนล่างขะรู้สึกเจ็บมาก
ตรวจพบวงเเหวนระหว่างมดลูกส่วนล่างเเละส่วนบน ที่บริเวณหน้าท้องต่ำกว่าระดับสะดือ
คลำพบเอ็นกลมด้านข้างของมดลูกทั้ง 2 ข้าง
ฟัง Fetal heart sounds ไม่ได้
ตรวจภายใน
การคลอดไม่ก้าวหน้า
ส่วนนำของทารกไม่เคลื่อนต่ำ
เเนวทางการรักษา
ผ่าตัดคลอดอย่างเร่งด่วน
ป้องกันมดลูกฉีกขาด
ตกเลือด
ทารกตาย
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน (Constriction ring)
กล้ามเนื้อมดลูกชนิดวงกลม หดรัดตัวเเบบไม่คลาย
พบมากบริเวณรอยต่อระหว่างมดลูกส่วนบนเเละส่วนล่าง
ไม่เปลี่ยนตำเเหน่งเเละรัดรอบตัวทารกไว้เเน่น
ทารกไม่สามารถเคลื่อนต่ำลงมาได้
สาเหตุ
ส่วนใหญ่พบในรายที่มดลูกถูกกระตุ้นจากการได้รับยา Oxytocin ภายหลังคลอดทารกเเฝดคนเเรกเเล้ว
อาการเเละอาการเเสดง
มดลูกหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ เเละไม่ประสานกัน
ในขณะมดลูกหดรัดตัว ทารกจะถูกดึงรั้งขึ้น
ตรวจภายใน
คลำโพรงมดลูกพบวงเเหวน
พบว่า รกไม่คลอดภายในระยะเวลาที่รกควรคลอด
เเนวทางการรักษา
ให้ยาบรรเทาปวดหรือยาระงับความรู้สึก
วงเเหวนคลายออก
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
ผ่าตัดคลอด
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกเเละฟัง Fetal heart sounds ควรเฝ้าระวังเป็นพิเศษในรายที่ได้รับการชักนำการคลอดด้วย Oxytocin
เเนะนำเทคนิคการบรรทาปวดโดยไม่ใช้ยา
ใช้เทคนิคการหายใจ
การผ่อนคลาย
ในรายที่ปวดมาก พิจารณาให้ยาระงับความรู้สึกตามเเผนการรักษาของเเพทย์
จัดให้นอนตะเเคงซ้าย เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงรก
ดูเเลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
ทารกมีภาวะพร่องออกซิเจนหรือมดลูกยังหดรัดตัวมากกว่าปกติ ให้ออกซิเจน mask with bag 5-8 ลิตร/นาที
ดูเเลให้ได้รับยาช่วยให้มดลูกคลายตัว
เเรงที่เกี่ยวข้อง
เเรงจากการหดรัดตัวของมดลูก (Uterine contraction)
เเรงจากการเบ่งของมารดา (Maternal force)