Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดยาก/การคลอดยาวนาน - Coggle Diagram
การคลอดยาก/การคลอดยาวนาน
การคลอดยาก (Dystocia/Difficult Labor/Dysfunctional Labor)
หมายถึง การคลอดที่ใช้เวลานาน มีความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้าผิดปกติ
อาจเกิดความผิดปกติจากปัจจัย
เกี่ยวกับการหดรัดตัวของมดลูก (Uterine dysfunction)
เกี่ยวกับเชิงกราน เเละทารกในครรภ์ (Mechanical dysfunction)
การคลอดยาวนาน (Prolong labor) หมายถึง การคลอดที่มีระยะเวลาของการคลอดในระยะ 1 เเละ ระยะ 2 รวมกันยาวนานกว่า 24 ชั่วโมง
การคลอดติดขัด (Obstructed labor) : ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดปกติได้ ต้องได้รับการผ่าตัด
การคลอดผิดปกติ (Abnormal labor) : การคลอดที่มีการเจ็บครรภ์คลอดไม่ก้าวหน้าตามกราฟ
สาเหตุการคลอดยาก
ความผิดปกติของเเรง (Abnormally of power)
เเรงจากการหดรัดตัวของมดลูก (Force from Uterine Contraction)
เเรงจากการเบ่ง (Force from voluntary muscle)
ความผิดปกติของช่องคลอด
(Abnormality of passage)
ส่วนที่เป็นกระดูก (Abnormality of bony passage)
กล้ามเนื้อเเละเอ็นยึด (Abnormality of soft passage)
ความผิดปกติของทารก (Abnormality of passenger)
ความผิดปกติของท่าเเละส่วนนำของทารก
ความผิดปกติของการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการของทารกในครรภ์
ความผิดปกติด้านสรีระเเละจิตสังคมของผู้คลอด
ประเภทของการคลอดยาก
การดำเนินการคลอดล่าช้าผิดปกติ (Slow progress)
ความผิดปกติในระยะปากมดลูกเปิดช้า
Prolonged latent phase
ปากมดลูกเปิดน้อยกว่า 4 เซนติเมตร
G1 : ใช้เวลานานกว่า 20 ชั่วโมง
G2 ขึ้นไป : ใช้เวลานานกว่า 14 ชั่วโมง
สาเหตุ
ปากมดลูกไม่เหมาะสมกับช่องคลอด
ในระยะเจ็บครรภ์มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ (Hypotonic)
มีระยะพักนาน ความตึงตัวของมดลูกน้อยกว่า 15 มิลลิเมตรปรอท
ได้รับยานอนหลับหรือยาเเก้ปวดที่มากเกินไป
ความผิดปกติในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
ระยะปากมดลูกเปิดเร็วล่าช้า (Protracted active phase of dilatation)
G1 : ปากมดลูกเปิด 4-8 เซนติเมตร เปิดช้ากว่า 1.2 เซนติเมตร/ชั่วโมง
G2 ขึ้นไป : ช้ากว่า 1.5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
สาเหตุ
ภาวะผิดสัดส่วนกันของศีรษะทารกเเละช่องทางคลอด
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ (Malposition)
ทารกอยู่ในท่าขวาง (Transverse lie)
ทารกอยู่ในท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังของช่องเชิงกราน (Occiput posterior position)
การเจาะถุงน้ำคร่ำหรือการเเตกของถุงน้ำคร่ำเร็วเกินไป
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำล่าช้า (Protracted descent)
ระยะลดลงที่ใช้เวลายาวนาน (Prolonged deceleration phase)
ปากมดลูกเปิด 8-10 เซนติเมตร
G1 : นานกว่า 3 ชั่วโมง
G2 ขึ้นไป : นานกว่า 1 ชั่วโมง
คลอดปกติระยะนี้ใช้เวลาเฉลี่ย
G1 : ประมาณ 50 นาที
G2 ขึ้นไป : ประมาณ 20 นาที
การเปิดของปากมดลูกหยุดชะงักภายหลัง (Secondary arrest of dilatation)
เป็นการหยุดชะงักของการเปิดของปากมดลูกหลังจากเปิดไปเเล้วระยะหนึ่ง
เกิดขึ้นระยะที่ปากมดลูกเปิด 4-8 เซนติเมตร
ปากมดลูกไม่เปิดขยายเพิ่มในระยะเวลา 2 ชั่วโมง
การเคลื่อนต่ำล้มเหลว (Failure of descent)
ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลง เมื่อเข้าสู่ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 เซนติเมตร
การคลอดปกติ
ส่วนนำจะเริ่มเคลื่อนต่ำลงตั้งเเต่ระยะที่ปากมดลูกเปิด 4-8 เซนติเมตร
เห็นการเคลื่อนต่ำชัดเจนระยะปากมดลูกเปิด 8-10 เซนติเมตร
ความผิดปกติในระยะที่สองของการคลอด
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำทารกหยุดชะงักในระยะเบ่ง
ปากมดลูกเปิดหมด 10 เซนติเมตร
ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ
G1 : นานกว่า 1 ชั่วโมง
G2 ขึ้นไป : นานกว่า 30 นาที
การดำเนินการคลอดไปอย่างเร็วผิดปกติ (Rapid progress)
คือ การคลอดที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ใช้เวลาทั้งหมดในการคลอดไม่เกิน 3 ชั่วโมง
การเปิดขยายของปากมดลูกที่รวมเร็วผิดปกติ
ปากมดลูกเปิด 4-9 เซนติเมตร
G1 : มากกว่า 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
G2 ขึ้นไป : มากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำทารกเร็วผิดปกติ
ภาวะเเทรกซ้อน
ภาวะเเทรกซ้อนต่อมารดา
การฉีกขาดของช่องคลอด ปากมดลูกหรือมดลูกเเตก (Tear of soft brith passage)
ตกเลือดหลังคลอด (Severe postpartum hemorrhage)
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในกระเเสเลือด (Amniotic fluid embolism
กรณีที่มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนเเรงเเละต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ภาวะเเทรกซ้อนต่อทารก
Fetal distress
มดลูกหดรัดตัวถี่เเละรุนเเรงมาก
มีระยะพักน้อย
ทำให้เลือดนำออกซิเจนไปสู่ทารกไม่เพียงพอ
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ (Fetal intracranial hemorrhage)
จากการบีบรัดของช่องคลอดต่อศีรษะทารก
ร่างกายทารกได้รับการบาดเจ็บ (Physical trauma)
อาการเเละอาการเเสดง
เจ็บครรภ์มาก
การหดรัดตัวของมดลูกรุนแรงเเละถี่มากกว่า 5 ครั้งใน 10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดเร็ว
สาเหตุ
ได้รับการชักนำการคลอดด้วยยา Oxytocin มากเกินไป
ได้รับยานอนหลับหรือยาระงับความรู้สึกมาก
พบในครรภ์หลังมากกว่าครรภ์เเรก
การรักษา
ให้การดูเเลตามอาการ ถ้าพยมีการคบอดเฉียบพลันให้ช่วยคลอด
ในรายที่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้หยุดยา เเละดูเเลอย่างใกล้ชิด
ให้ยาช่วยยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ผ่าตัดโดยการตัดมดลูก (Hysterectomy)
ทำในบางรายที่มีภาวะเเทรกซ้อน
ภาวะมดลูกเเตก
ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในกระเเสเลือด
การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้คลอดถึงปัจจัยส่งเสริมที่ทำให้เกิดการคลอดเฉียบพลัน
มีประสัติคลอดเฉียบพลันในครรภ์ก่อน
ความไวต่อการเร่งคลอด
ลักษณะการเจ็บครรภ์ร่วมกับอาการอื่น
มีประวัติดังกล่าว
ควรสังเกตความก้าวหน้าของการคลอด
บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ดูเเลผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำคลอดเเละอุปกรณ์ในการช้วยฟื้นคืนชีพ
ประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก
สังเกตการตึงตัวของทวารหนัก ฝีเย็บโป่งตึง
กระตุ้นให้ผู้คลอดหายใจลึกๆ ยาวๆ เเละอ้าปากเบ่งเเทนการการเบ่งในขณะที่มดลูกหดรัดตัว เพื่อป้องกันไม่ให้ส่วนนำเคลื่อนต่ำเร็วเกินไป
ห้ามใช้มือดันศีรษะทารกไม่ให้คลอด หรือให้ผู้คลอดหนีบขาไว้เพราะจำทำให้ทารกยาดเจ็บจากการคลอดหรือขาดออกซิเจนได้
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกเเละการฉีกขาดของช่องคลอดหลังคลอดทันที เพื่อป้องกันการตกเลือด
ประเมินสภาพทารกถึงความผิดปกติจากการคลอดเฉัยบพลันทันที เช่น Fracture of clavicle, Intracnial hemorrhage
อาการเเละอาการเเสดง
ปากมดลูกเปิดขยายช้ากว่าปกติ
ปากมดลูกบวมเเข็ง เเละตึงมากกว่าปกติ
ส่วนนำเคลื่อนต่ำลงช้ากว่าปกติ ทารกเกิด caput succedaneum
มดลูกหัดรัดตัวมากหรือน้อยผิดปกติ
การตรวจร่างกาย
ส่วนสูง
ผู้คลอดมีส่วนสูงน้อยกว่า 145 เซนติเมตร
เชิงกรานจะเล็กเเละเเคบ
ตรวจครรภ์
คาดการณ์หรือคาดคะเนน้ำหนักทารก
ท่าทารกในครรภ์ที่ผิดปกติ
ตรวจภายใน
การเปิดขยายของปากมดลูกช้ากว่าปกติ
ส่วนนำเคลื่อนต่ำช้ากว่าปกติ
การหมุนภายในของกลไกการคลอดไม่สัมพันธ์กับการเปิดขยายของปากมดลูก
Molding
การหดรัดตัวของมดลูก
มดลูกหดรัดตัวมากหรือน้อยผิดปกติ ไม่สัมพันธ์กับระยะการเปิดของปากมดลูก
ภาวะสุขภาพของผู้คลอด
Fetal Heart Sound ผิดปกติ
เเนวทางการรักษา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อเเก้ภาวะขาดน้ำ
ในรายที่ชักนำการคลอดโดยการใช้ยา Oxytocin หากมดลูกหดรักตัวมากกว่าปกติ ควรลดยาหรือหยุดยา
ในรายที่ถุงน้ำคร่ำเเตกก่อนคลอดนาน เฝ้าระวังการติดเชื้อ
ให้ยาระงับความปวด
ดูเเลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง เพื่อให้มดลูกหัดรัดตัวดี
ผ่าตัดคลอดในรายที่ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ท่างขวาง
ส่วนนำไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน