Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nearly postterm with Induction of labor with Fetal distress …
Nearly postterm with Induction of labor with Fetal distress with Cesarean section with midline vertica incision with Spinal block
Post-term pregnancy
ความหมาย
(ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์, 2555)
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์ หรือมากกว่า 294 วันนับจากวันแรกของการมีประจำวันเดือนครั้งสุดท้าย หญิงตั้งครรภ์เกินกำหนดพบได้ประมาณร้อยละ 10 ของการตั้งครรภ์
-
สาเหตุ
(ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์, 2555)
-
การวินิจฉัย
(ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์, 2555)
1.การนับจำนวนวันของการตั้งครรภ์ พบอายุครรภ์มากกว่า 294 วัน ซึ่งพบว่าการคาดคะเนวันคลอดจะคาดเคลื่อนไป 12-17 วัน
-
2.อาการและอาการแสดง ได้แก่ มดลูกมีขนาดเล็ก คลำพบทารกชัดเจนเนื่องจากปริมาณน้ำคร่ำลดลง น้ำหนักมารดาลดลงมากกว่า 1 kg ในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์ และทารกดิ้นน้อย
ไม่พบอาการและอาการแสดง คือคลำส่วนของทารกได้ไม่ชัดเจน HF 3/4>๏ วัดเทปได้ 37 cm น้ำหนักไม่ลด ทารกดิ้น> 10/วัน
-
ภาวะแทรกซ้อน
(ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์, 2555)
ต่อมารดา
คลอดยาก เนื่องจากทารกตัวโต (macrosomia), คลอดติดไหล่ เสี่ยงต่อการตกเลือดในระยะที่2 มารดามีความวิตกกังวล
ต่อทารก
ทารกเสี่ยงต่อภาวะ fetal distress เนื่องจากภาวะน้ำคร่ำน้อย ทำให้สะดือถูกกด และพบว่ามีเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ (polycythemia) มีขี้เทาปนในน้ำคร่ำ จากการสำลักขี้เทา
การรักษา
(ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์, 2555)
ระยะคลอด
ถ้าตรวจพบว่าเร่งคลอดไม่ประสบผลสำเร็จควรพิจารณาผ่าตัดคลอด นอกจากนี้ถ้าพบว่าถุงน้ำแตกควรสังเกตขี้เทาที่ปนออกมากับน้ำคร่ำ ดูแลให้ออกซิเจน และเตรียมทีมช่วยฟื้นคืนชีพทารกกรณีพบว่าน้ำคร่ำมีขี้เทาปน
ระยะตั้งครรภ์
เมื่ออายุครรภ์ 41 สัปดาห์แล้วยังไม่มีอาการเจ็บครรภ์ จะได้รับการทำ NST หรือ Biophysical profile ถ้าพบว่าทารกปกติ อาจตรวจด้วย U/S เพื่อคำนวณอายุครรภ์ วัด biparietal diameter
ควรได้รับการตรวจสอบอายุครรภ์อย่างแม่นยำ ตั้งแต่การฝากครรภ์ครั้งแรก ถ้าจำ LMP ไม่ได้แน่นอน ควรตรวจด้วย U/S
-
ถ้าพบว่าทารกครบกำหนดจะพิจารณาการกระตุ้นให้เจ็บครรภ์คลอดโดยใช้ prostaglandin เหน็บช่องคลอด พบว่าทำให้ทารกมีความปลอดภัยมากกว่าการเฝ้าระวังรอคอยให้เกิดการเจ็บครรภ์ขึ้นเองตามธรรมชาติ
จากกรณีศึกษา พบว่า 29/6/66 ไป ANC ตามนัดที่โรงพยาบาลปากคาด พบ Nearly postterm GA 40+3 จึง plan refer เขียนใบส่งตัวมาที่โรงพยาบาลบึงกาฬ
วันที่ 30/6/66 จึงมาที่รพ.บึงกาฬ แพทย์มีแผนการรักษาโดยให้
ให้ 0.9%NSS 1000 ml IV drip 80 cc/hr และ ให้ Cytotec 1/8 tab Vg.Suppo 1 dose เริ่มเหน็บเวลา 15.00 น.
Induction of labor
ชนิด
(ศิริวรรณ แสงอินทร์, 2557)
-
-
ความหมาย
การกระตุ้นให้มีการหดรัดตัวของมดลูกก่อนที่จะเริ่มเจ็บครรภ์เอง เพื่อให้การคลอดสิ้นสุดลง โดยอาจจะมีหรือไม่มีการแตกของถุงน้ำคร่ำก็ได้
(ศิริวรรณ แสงอินทร์, 2557)
วิธีการชักนำ
(ศิริวรรณ แสงอินทร์, 2557)
-
การใช้ยา Prostaglandin
- 2 more items...
-
-
ข้อห้าม
(ศิริวรรณ แสงอินทร์, 2557)
-
-
-
-
จากกรณีศึกษา พบว่าไม่มีข้อห้ามในการชักนำการคลอด
โดยจากการตรวจครรภ์พบทารกมีส่วนนำเป็นศีรษะ ไม่มีภาวะรกก่อนต่ำหรือรกลอกตัวก่อนกำหนด ไม่มีประวัติเคยผ่าตัดมดลูกหรือผ่าคลอด
ปัจจัยความสำเร็จในการชักนำการคลอด
(ศิริวรรณ แสงอินทร์, 2557)
2.จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์และการคลอด มารดาครรภ์หลังปากมดลูกมักจะนุ่มและขยายบ้างแล้วเมื่อเปรียบเทียบกับมารดาครรภ์แรก ทำให้ง่ายต่อการกระตุ้นให้เกิดและการบางตัวของปากมดลูก
3.ความพร้อมของปากมดลูกและระดับของส่วนนำ การประเมินความพร้อมของปากมดลูกและระดับของส่วนนำเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการบอกความสำเร็จของการชักนำการคลอดวิธีที่นิยมใช้โดยทั่วไป คือ การประเมินสภาพก่อนการเจ็บครรภัโดยใช้ระบบการให้คะแนนของบิชอป (Bishop scoring system)
- 1 more item...
1.อายุครรภ์ โอกาสที่จะชักนำการคลอดสำเร็จจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ตามอายุครรภ์ เพราะยิ่งครรภ์ใกล้ครบกำหนด Prostaglandin ยิ่งมีมากขึ้น ทำให้มดลูกและปากมดลูกมีความพร้อมต่อการคลอดมากขึ้น
- 1 more item...
ภาวะแทรกซ้อน
(ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์, 2555)
-
ต่อทารกในครรภ์
- 3 more items...
-
-
-