Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Coggle Diagram
ปริมาณสารสัมพันธ์
สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวประเภทสารไม่บริสุทธิ์ที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่คงที่ เกิดจากการรวมตัวกันของตัวทำละลาย (Solvent) กับตัวถูกละลาย (Solute)
ประเภทของสารละลาย แบ่งตามคุณสมบัติในด้านต่างๆ ได้ 4 ประเภท
-
เกิดจากสถานะเดียวกัน เช่น ทองเหลือง, นาก, ฟิวส์ไวน์, เหล้า, สารละลายกรด-เบส
-
เกิดจากต่างสถานะกัน เช่น น้ำเชื่อม, ทองรูปพรรณ, น้ำโซดา, ไอของไฮโดรเจนในแพลเลเดียม
แบ่งตามขนาดของอนุภาค
-
-
-
โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ระหว่าง 101 - 1040 A (10-7 - 10-4 cm) จึงมองด้วยตาเปล่าเห็นแต่มีลักษณะขุ่นมัวไม่ใสเหมือนสารละลายแท้
สารละลายอิเล็กโตรไลต์ (Electrolyte Solution) คือ สารละลายที่มีการแตกตัวเป็น
ประจุไฟฟ้า ที่อยู่ในสารละลายมีทั้งประจุบวกและประจุลบ ปริมาณของประจุไฟฟ้าที่ได้จะเป็นตัวบ่งบอกถึงความสามารถในการนำไฟฟ้า ซึ่งจำแนกได้ 2 ชนิด
สารละลายที่นำไฟฟ้าได้ดี (Strong Electrolyte Solution) คือ สารละลายที่มีการแตกตัวเป็นประจุไฟฟ้าได้ 100%
สารละลายที่นำไฟฟ้าได้ไม่ดี (Weak Electrolyte Solution) คือ สารละลายที่มีการแตกตัวเป็นประจุไฟฟ้าได้น้อยหรือเกือบจะไม่มีการแตกตัวเป็นประจุไฟฟ้าเลย
-
สารละลายอิ่มตัว (Saturated Solution) คือ สารละลายที่ตัวถูกละลายไม่สามารถละลายในตัวทำละลายได้อีก เมื่อปริมาตรของตัวทำละลายและอุณหภูมิคงที่
-
-
สมการเคมี เป็นสูตรหรือสัญลักษณ์ที่ใช้บอกถึงปริมาณของสารตั้งต้นในการทำปฏิกิริยาเคมีเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ โดยใช้ลูกศร แทนการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบไปข้างหน้า หรือเครื่องหมาย แทนการเกิดปฏิกิริยาแบบผันกลับได้
สมดุลเคมี
การทำให้จำนวนอะตอมของทั้งสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีความสมดุลกันโดยการเติมจำนวนอะตอมที่เหมาะสมลงไปในสมการเพื่อให้เกิดความสมดุล หากเราไม่ทำให้สมการเกิดการสมดุลกันก็เป็นการบ่งชี้ว่าปฏิกิริยายังคงเกิดต่อเนื่องไปเรื่อยไม่มีวันสิ้นสุด
กฎทรงมวล หมายถึง มวลของสารทั้งหมดก่อนการเปลี่ยนแปลงจะเท่ากับมวลของสารทั้งหมดหลังการเปลี่ยนแปลง
มวล A + มวล B = มวล C + มวล D
-