Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอนุรักษ์พลังงาน - Coggle Diagram
การอนุรักษ์พลังงาน
เทคโนโลยีในการอนุรักษ์พลังงาน
6.1 หัวเผาแบบรีเจนเนอเรทีฟ (Regenerative Burner)หัวเผาแบบรีเจนเนอเรทีฟ เป็นหัวเผาที่ใช้หลักการดึงความร้อนจากไอเสียกลับมาใช้ใหม่ โดยติดตั้งหัวเผาเป็นคู่ให้ทำงานเป็นวัฏจักร
6.2 เครื่องทำความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Refrigeration)เครื่องทำความเย็นแบบดูดซึม เป็นระบบที่ใช้ความร้อนเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต เช่น
ไอน้ำแห้ง ไอน้ำเปียก ไอน้ำร้อนความดันต่ำ แสงอาทิตย์ ก๊าซไอเสีย เป็นต้น
การลดความชื้นด้วยฮีทไปป์ (Heat Pipe Dehumidification)
ฮีทไปป์ คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนความร้อนหรือส่งถ่ายความร้อนได้โดยไม่ต้องใช้พลังงานจากภายนอก
การอนุรักษ์พลังงานความร้อนในระบบเผาไหม้
3.1 การสูญเสียพลังงานความร้อนในระบบเผาไหม้
3.2 การอนุรักษ์พลังงานความร้อนในระบบเผาไหม้
การอนุรักษ์พลังงานในระบบจ่ายไฟฟ้า
4.1 การสูญเสียพลังงานในระบบหม้อแปลงไฟฟ้า
4.2 การอนุรักษ์พลังงานในระบบจ่ายไฟฟ้า
ความหมายการอนุรักษ์พลังงาน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 ให้ความหมายของการอนุรักษ์พลังงานไว้ว่า “อนุรักษ์พลังงาน หมายความว่า การผลิตและใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด”
การอนุรักษ์พลังงานความร้อนในระบบไอน้ำ
ไอน้ำเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่เกิดจากการเปลี่ยนสถานะของน้ำจากของเหลวเป็นก๊าซเมื่อได้รับความร้อน
2.1 การสูญเสียพลังงานของระบบไอน้ำ
2.2 การอนุรักษ์พลังงานในระบบไอน้ำ
ารอนุรักษ์พลังงานในระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง
พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่ทวีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์ใช้ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้าในหลายกิจกรรม เช่น กิจกรรมให้ความบันเทิง กิจกรรมทางการแพทย์ กิจกรรมด้านความปลอดภัยและการขนส่ง เป็นต้น
แนวทางการประยุกต์ใช้ความรู้ เรื่อง การอนุรักษ์พลังงาน ในชีวิตประจำวันและงานอาชีพ
7.1 นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในการออกแบบโครงการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อเสนอแหล่งทุนหรือเสนอต่อครูที่ปรึกษาโครงการวิชาชีพ
7.2 นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในการออกแบบการวิจัยหรือพัฒนาสิ่งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
7.3 นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้กำหนดวิธีการจัดการพลังงานที่มีคุณภาพในชุมชน ท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่
7.4 นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้กำหนดมาตรการเพื่อลดการสูญเสียพลังงานในชุมชน ท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่
7.5 นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้จัดตั้งหน่วยเฝ้าระวังอันตรายที่เกิดจากการจัดการพลังงานที่ไม่ได้มาตรฐาน เพื่อนำเสนอข้อมูลให้กับหน่วยงานในการดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน ท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่