Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีเชิงชีวภาพ - Coggle Diagram
ทฤษฎีเชิงชีวภาพ
Wear and Tear Theory
ทฤษฎี
เชื่อว่า ความแก่เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากการที่อวัยวะมีการใช้งานมากเกินไป หรือใช้งานไม่ถูกต้อง ย่อมเสื่อมสภาพได้ง่ายและเร็วขึ้น
สอดคล้องกับเคส
ต่อมรับรสมีจํานวนลดลง ความไวในการรับรสลดลง ทําให้การรับรสเค็มรสขม เปรี้ยว รสหวาน ลดลงตามลําดับ เป็นผลให้ความสามารถในการรับรู้และแยกแยะอาหารต่างๆลดลง จึงเป็นผลทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกกินอะไรไม่อร่อย
เดินก้าวสั้นและช้าลง ช่วงเวลาที่เท้าทั้งสองข้างแตะพื้นพร้อมกันในขณะเดินนานขึ้น เท้ากางออกจากกันมากกว่าปกติ หลังงอและตัวเอนไปข้างหน้าเล็กน้อย แขนกางออกและแกว่งเล็กน้อย เวลาหมุนตัวเลี้ยวจะต้องหมุนไปทั้งตัวเล็กน้อย เวลาหมุนตัวเลี้ยวจะต้องหมุนไปทั้งตัว
Free radical Theory
ทฤษฎี
เกิดการเผาผลาญอาหารที่ไม่สมบูรณ์ที่ทำให้เกิดอนุมูลอิสระ อนุมูลอิสระที่มากเกินไปจะทําลายอิเล็กตรอนภายในเนื้อเยื่อและโครงสร้างทางพันธุกรรม ทําให้เซลเสียหายและทํางานผิดปกติ ส่งผลให้เกิดการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันภายในร่างกายให้ทํางานมากขึ้น เพื่อมาทําลายเซลที่ผิดปกตินี้
สอดคล้องกับเคส
อาชีพเกษตรกรซึ่งต้องมีการปนเปื้อนของสารเคมี ซึ่งผู้สูงอายุเคยประกอบอาชีพทำสวนเมื่อนานมาแล้ว สารเคมีจะทำให้เกิดทำให้เซลล์เสียหายได้
เนื่องจากผู้สูงอายุเคยทำอาชียร่อนพลอยทำให้ต้องตากแดดและรับแสงUv ทำให้สะสมอนุมูลอิสระไปขัดขวางคอลลาเจนและอิลาสตินAge Spots เป็นอาการที่เกิดมาจากอนุมูลอิสระ (Free-radical) จับกับไขมันบนผิวหนังที่เรียกว่า ไลโปฟุสซิน (Lypofuscin) ทำให้เกิดจุดตั้งแต่สีเหลืองอ่อน น้ำตาล ไปจนถึงดำ กระจัดกระจายไปทั่วร่างกาย
Cross linkage Theory
ทฤษฎี
ทฤษฎีนี้อธิบายว่า ความสูงอายุเกิดขึ้นจากมีการเชื่อมตามขวางของโมเลกุลของโปรตีนในอิลาสตินลดลงและคลอลาเจนเปลี่ยนแปลง ทําให้เส้นใย collagen เกาะกันแน่นมากขึ้น ทําให้เนื้อเยื่อมีความยืดหยุ่นลดลง
สอดคล้องกับเคส
เลนสายตาหนาตัวและแข็งขึ้น ความโค้งลดลง มีผลต่อการปรับระดับสายตา (focus) เรียกว่า
สายตาผู้สูงอายุ (presbyopia) เลนสายตาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองมากขึ้น ขุ่นขึ้น ความยืดหยุ่นของเลนสายตาลดลง
-
-