Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เอพภพ
800px-NASA-HS201427a-HubbleUltraDeepField2014-20140603 :star: :star…
เอพภพ
:star: :star::star::star::star:
กลุ่มที่ 2
ดาวฤกษ์
-
-
-
-
-
ระยะห่างของดาวฤกษ์
-
ปีแสง (Light year) ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี มีค่า 3x10^8 เมตร/วินาที ดังนั้นระยะทาง 1 ปีแสง = 9.5 ล้านล้านกิโลเมตร
พาร์เซก (Parsec) เป็นหน่วยวัดระยะมสงจากโลกถึงดาวฤกษ์ 1 พาร์เซก เท่ากับมุมพารัลแลกซ์ 1 ฟิลิปดา เท่ากับ 3.26 ปีแสง หรือ 206,265 AU
กำลังส่องสว่างของดาวฤกษ์
-
ความส่องสว่าง
ปริมาณพลังงานการแผ่รังสีของดาวที่ปลดปล่อยออกมาในเวลา 1 วินาทีต่อหน่วยพื้นที่มาถึงผู้สังเกตบนโลก เรียก โชติมาตรหรือแม็กนิจูด
-
-
เอกภพ
ทฤษฎีบิกแบง
ขณะเกิดบิกแบง มีการเปลี่ยนแปลง ได้แก่มีควาร์ก อิเล็กตรอน นิวทรีโน และโฟตอน หลังจากนั้นได้หลอมรวมกันเป็นจักรวาล
-
ควาร์กเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุด โดยนิวตรอนและโปรตอนเกิดจากการรวมกันของควาร์ก นิวตรอน 2down+1up, โปรตอน 2up+1down
-
-
กาแล็กซี่
ระบบดาวฤกษ์ที่รวมกันนับแสนล้านดวงและอยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วงระหว่างสสารจำนวนมากของกาแล็กซี่และมีเนบิวลาเป็นกลุ่มแก๊ส
1.ไร้รูปร่าง 2.รูปร่างปกติ โดยที่รูปร่างปกติจะแยกเป็น 3 ประเภทคือกาแล็กซีรี กาแล็กซี่กังหัน และหาแล็กซีเลนส์
-
-
ระบบสุริยะ
องค์ประกอบ
-
-
-
ดงดาวหางของออร์ต เป็นบริเวณที่อยู่ของดาวหางซึ่งเป็นวัตถุท้องฟ้าที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ประกอบด้วยฝุ่นผง เศษหิน ก้อนน้ำแข็ง และแก๊สแข็งตัว จึงเรียกว่า ก้อนน้ำแข็งสกปรก โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ขณะที่อยู่ใกลจากดวงอาทิตย์จะไม่มีหางและแสงสว่าง
ดาวหางและอื่นๆ
ดาวหางที่มีวงโคจรเกือบเป็นพาราโบลา เป็นดาวหางที่มีวงโคจรขนาดใหญ่มากและครอบคลุมบริเวณออกนอกระบบสุริยะไปไกลมาก ดาวหางกลุ่มนี้มีคาบของการโคจรมาก จนบางครั้งไม่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์
ดาวหางที่มีวงโคจรเป็นรูปวงรีที่แน่นอน เป็นดาวหางที่มีคาบของการโคจรรอบดวงอาทิตย์ไม่เกิน 2-3 ร้อยปีมีวงโคจรเป็นรูปวงรีที่แน่นอน
สะเก็ดดาว เป็นวัตถุขนาดเล็กในอวกาศที่เล็กกว่าดาวเคราะห์น้อย ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง เมื่อเข้าใกล้โลกจะถูกแรงดึงดูดของโลกดึงให้ตกสู่ผิวโลก และเกิดการเสียดสีกัยชั้นบรรยากาศของโลก ลุกไหม้เป็นแสงสว่างพึ่งเป็นทางลงมาจากท้องฟ้า เรียกว่า ดาวตก หรือผีพุ่งใต้ แต่ถ้ามีขนาดใหญ่และเผาไหม้ไม่หมดจะเรียกว่าอุกกาบาต
โครงสร้างบนดวงอาทิตย์
แก่น มีอุณหภูมิ 15 ล้านเคลวิน ซึ่งสูงพอที่จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้ พลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้เป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญของดวงอาทิตย์ ปฏิกิริยาที่แก่นดวงอาทิตย์อยู่ในสภาวะสมดุลของแรง 2 แรง
เขตแผ่รังสี อยู่ระหว่างแก่นและเขตการพา คอยแผ่รังสีออกสู่ชั้นนอกของดวงอาทิตย์ การถ่ายทอดพลังงานในชั้นนี้ต้องใช้เวลานานนับล้านปี
เขตการพาความร้อน เป็นการพาความร้อนจากชั้นการแผ่รังสีออกสู่ผิวของดวงอาทิตย์และนำพลังงานจากผิวของดวงอาทิตย์ออกสู่ดาวเคราะห์ในอวกาศด้วยการแผ่รังสี
ชั้นโฟโตสเฟียร์ ้เป็นชั้นบรรยากาศชั้นในสุด เป็นบริเวณที่สว่างที่สามารถมองเห็นได้ประกอบด้วยแสงที่มี อุณหภูมิ 6,100K อุณหภูมิลดลงตามความสูงจนเหลือ 5,800K ดังนั้นที่ความสูงเพิ่มขึ้นอุณหภูมิลดลง และสว่างก็จะลดลง
ชั้นโครโมสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศบางๆ ที่ห่อหุ้มโฟโตสเฟียร์ มีความหนาแน่น 10-4 เท่าของชั้นโฟโตสเฟียร์ เป็นชั้นที่อุณหภูมิที่เพิ่มจาก 4,400K เป็น 25,000K ขอบเขตของชั้นนี้ไม่แน่นอน เนื่องจากบรรยากาศในชั้นนี้ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน มีโครงสร้างที่เป็นลำแก๊สร้อน
คอโรนา เป็นชั้นบรรยากาศที่เจือจาง และแผ่กระจายจากดวงอาทิตย์ได้ไกลเราเห็นแสงส่วนนี้ในช่วงที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวง
ปรากฏการณ์
ขณะที่ดวงอาทิตย์สงบ ช่วงเวลาที่สังเกตที่สังเกตพบจำนวนจุดบนดวงอาทิตย์น้อย เพราะสนา่มแม่เหล็กค่อนข้างสม่ำเสมอ
สปิคุล เป็นลำไอของแก๊สที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1,000 กม. ความสูงประมาณ 7,000 กม. บางลำพุ่งขึ้นสูงถึง 15,000 กม.
ช่วงที่ดวงอาทิตย์กัมมันต์ หมายถึง ช่วงเวลาที่สังเกตพบจำนวนจุดบนดวงอาทิตย์มากเพราะสนามแม่เหล็กบนดวงอาทิตย์บางบริเวณมีความเข้มมากกว่าปกติ มีคาบเวลาจากดวงอาทิตย์มีจำนวนจุดมากที่สุดหรือน้อยที่สุดไปยังเวลาที่มีจำนวนจุดมากที่สุดไปยังน้อยที่สุดอีกครั้งในทุก 11 ปี
-
กลุ่มที่ 1
ทฤษฎีบิกแบง
การระเบิดใหญ่ของอะตอมดึกดำบรรพ์ ซึ่งเป็นกลุ่มก้อนพลังงานภายใต้ธรรมชาติ ทำให้พลังงานส่วนหนึ่งเปลี่ยนเป็นกลุ่มสสารและพลังงานกระจายออกรอบทิศและมีวิวัฒนาการต่อเนื่องเป็นกาแล็กซี เนบิวลา ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ โลก สิ่งมีชีวิต
หลังจากบิกแบง อุณหภูมิพื้นหลังจะค่อยๆลดลงและรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะเหลือเพียงไมโครเวฟพื้นหลังในปัจจุบัน
เกิดอนุภาคมูลฐานและปฏิอนุภาครวมกันเป็นพลังงานโฟตอน และรวมตัวกันเป็นโปรตอนและนิวตรอนแล้วกลายเป็นนิวเคลียสฮีเลียม และหากนิวเคลียสดึงอิเล็กตรอนเข้ามาในวงจรเป็นอะตอม H และ He
-
-
-
-
-
เอกภพมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 26,000 ล้านปีแสง โดย 1 ปีแสงคือระยะทางที่แสงเดินทางในอวกาศนาน 1 ปี คิดเป็นระยะทาง 2.5 x 10^2
กาแล็กซีทางช้างเผือก
ลักษณะ
นิวเคลียส ( nucleus ) คือ ส่วนที่เป็นบริเวณใจกลางของกาแล็กซีหรืออาจเรียกว่า ส่วนโป่ง ( bulge ) โดยในบริเวณนี้จะมีความสว่างมากเนื่องจากมีดาวฤกษ์หนาแน่น
จาน ( disk ) คือ บริเวณที่มีดาวฤกษ์กระจายตัวออกจากส่วนใจกลาง คล้ายส่วนที่เป็นแขนของกาแล็กซี มีองค์ประกอบคือ ฝุ่น แก๊ส และดาวฤกษ์จำนวนมาก
ฮาโล ( Halo ) คือ บริเวณรอบ ๆ ส่วนโป่ง โดยเป็นส่วนที่มีดาวฤกษ์รวมตัวเป็นกลุ่มหรือกระจุก เรียกว่า กระจุกดาวทรงกลม โดยดาวเหล่านี้เป็นกลุ่มดาวที่มีอายุมาก
กาแล็กซีที่ระบบสุริยะเป็นสมาชิกอยู่ คือ กาแล็กซีทางช้างเผือกสำหรับคนไทย หรือกาแล็กซีทางน้ำนม ( The Milky way galaxy ) สำหรับชาวตะวันตก การเรียกชื่อที่แตกต่างกันนั้นเกิดจากความเชื่อและมุมมองของแต่ละชนชาติ โดยคนไทยเชื่อว่าช้างคือสัตว์คู่บารมีของกษัตริย์ ซึ่งถือเป็นสมมติเทพ ดังนั้นจึงเชื่อว่าสิ่งที่สังเกตเห็นเป็นฝ้าขาวพาดผ่านบนท้องฟ้านั้น คือ ทางของช้างเผือกที่อยู่คู่กับเทพบนสวรรค์ ขณะที่ชาวตะวันตกมีความเชื่อว่าสิ่งที่สังเกตเห็นเป็นสีขาว มีลักษณะคล้ายน้ำนมไหล จึงตั้งชื่อว่า กาแล็กซีทางน้ำนม
กลุ่มที่ 5
-
-
-
-
โยฮันเนส เคปเลอร์ สร้างแบบจำลองการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ โดยใช้กฎเคปเลอร์ 3 ข้อ ได้แก่ กฎวงรี กฎพื้นที่ และกฎฮาร์มอนิก และได้กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตันมารองรับอีกด้วย
-
กาลิเลโอ เป็นคนแรกที่ใช้กล้องโทรทรรศน์ในด้านดาราศาสตร์ เช่น ดาวบริวาร 4 ดวงของดาวพฤหัสบดี หลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์
-
-
ทิโค บราห์ ได้สังเกตและบันทึกการเคลื่อนไหวของดาว ได้ว่า ดาวพุธ,ศุกร์,อังคาร,พฤหัส,เสาร์ โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์โคจรรอบโลก
-
พีธากอรัส สร้างแบบจำลองจักรวาล โดยมีทรงกลมฟ้าแทนดวงดาวเคลื่อนที่ในทิศตรงข้ามกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์
ชาวสุเมเรียน บันทึกตำแหน่งของดาว โดยโลกแบนอยู่กับที่และเป็นศูนย์กลาง มีการตั้งชื่อกลุ่มดาว ตามความเชื่อเรื่องเทพเจ้า
อริสโตเติล สร้างแบบจำลอง โดยโลกมีลักษณะกลมอยู่ที่ศูนย์กลางโดย มีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวที่เห็นได้ด้วยตาเปล่า 5 ดวง
กลุ่มที่ 4
-
เอกภพ
การศึกษาเกี่ยวจจจเอกภพ
สมัยก่อน มนุษย์นั้นคิดว่าโลกแบนและเป็นศูนย์กลางของเอกภพ ต่อมาได้มีการค้นพบว่าโลกไม่ได้เป็นศูนย์กลางจักรวาลแต่โคจรรอบดวงอาทิตย์
การกำเนิดและวิวัฒนาการ
-
ทฤษฎีบิ๊กแบง เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงการระเบิดครั้งใหญ่และปล่อยสสารจำนวนมหาศาลออกมาและรวมตัว จนเกิดเป็นกาแล็กซี เนบิวลา ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ โลก ดวงจันทร์ มนุษย์ และสิ่งมีชีวิตต่างๆ
-
ระบบสุริยะ
ดาวเคราะห์
บริวารขนาดใหญ่ของดวงอาทิตย์ 8 ดวง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
- ดาวเคราะห์ชั้นใน เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร
- ดาวเคราะห์ชั้นนอก เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
1.ดาวเคราะห์วงใน คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ได้แก่ ดาวพุธ และดาวศุกร์
2.ดาวเคราะห์วงนอก คือดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรอยู่ไกลดวงอาทิตย์มากกว่าโลก ได้แก่ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
ดาวเคราะห์แคระ
เป็นวัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลมที่มีวงโคจรเป็นวงรอบดวงอาทิตย์ ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยวิถี
ดาวพลูโต ไม่สามารถนับเป็นดาวเคราะห์ได้เพราะมีวงโคจรทับกับดาวเนปจูน และถูกลดสถานะให้เป็นเพียงดาวเคราะห์แคระ
-
ดาวหาง
เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อย แต่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีแคบ และทำมุมเอียงตัดกับระนาบของสุริยวิถีเป็นมุมสูง ดาวหางมีองค์ประกอบเป็นน้ำแข็ง และแก๊สในสถานะของแข็ง
ดาวตก
คือ สะเก็ดดาวที่พุ่งเข้ามาเสียดสีกับบรรยากาศของโลก เมื่อเสียดสีกับอนุภาคในชั้นบรรยากาศจะเกิดความร้อนและลุกไหม้จนเกิดแสงสว่างขึ้นมา
-
ดวงอาทิตย์
เป็นดาวฤกษ์ และเป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ โดยมีดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบ ดวงอาทิตย์มีองค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจนซึ่งอยู่ในสถานะพลาสมา
กลุ่ม 6
กำเนิดและวิวัฒนาการเอกภพ
ทฤษฎีบิ๊กแบง เป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงการระเบิดครั้งใหญ่และปล่อยสสารจำนวนมหาศาลออกมาและรวมตัว จนเกิดเป็นกาแล็กซี เนบิวลา ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ โลก ดวงจันทร์ มนุษย์ และสิ่งมีชีวิตต่างๆ
-
ขั้นตอนการเกิด
หลังเกิดบิกแบง 3 นาที - 300,000 ปี
-
หลังเกิดบิกแบง 300,000 ปี - 1,000 ล้านปี
-
-
หลังเกิดบิกแบง 1,000 - 13,800 ล้านปี
อะตอมของ H และของ He รวมตัวกันต่อ ๆ มา จนเกิดเป็นเนบิวลารุ่นแรก ดาวฤกษ์ กาแล็กซี ระบบสุริยะ จนกลายเป็นเอกภพในปัจจุบัน
-
-
กาแล็กซี
เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสารระหว่างดาวอันประกอบด้วยฝุ่น แก๊ส และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง
-
-
กลุ่ม 3
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ระบบสุริยะ
คือระบบดาวซึ่งประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 167 ดวง[4] ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์
โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต
การสำรวจยุคแรก
การสำรวจระบบสุริยะในยุคแรกดำเนินไปได้โดยอาศัยกล้องโทรทรรศน์ เพื่อช่วยนักดาราศาสตร์จัดทำแผนภาพท้องฟ้าแสดงตำแหน่งของวัตถุที่จางเกินกว่าจะมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
กาลิเลโอ กาลิเลอี คือผู้แรกที่ค้นพบรายละเอียดทางกายภาพของวัตถุในระบบสุริยะ เขาค้นพบว่าผิวดวงจันทร์นั้นขรุขระ ส่วนดวงอาทิตย์ก็มีจุดด่างดำ และดาวพฤหัสบดีมีดาวบริวารสี่ดวงโคจรไปรอบ ๆ[5] คริสตียาน เฮยเคินส์ เจริญรอยตามกาลิเลโอโดยค้นพบไททัน ดวงจันทร์ของดาวเสาร์ รวมถึงวงแหวนของมันด้วย[6] ในเวลาต่อมา จิโอวันนี โดเมนิโก กัสสินี ค้นพบดวงจันทร์ของดาวเสาร์เพิ่มอีก 4 ดวง ช่องว่างในวงแหวนของดาวเสาร์ รวมถึงจุดแดงใหญ่บนดาวพฤหัสบดี
ศัพทมูลวิทยา
คำว่า เอกภพ (อ่านว่า เอก-กะ-พบ) มาจากคำในภาษาบาลีสันสกฤตว่า เอก (อ่าน เอ-กะ) แปลว่า หนึ่ง รวมกับ ภว (อ่าน พะ-วะ) ซึ่งภาษาไทยใช้ว่า ภพ แปลว่า ที่เกิดหรือโลก เอกภพ เป็นคำศัพท์ในวิชาดาราศาสตร์ แต่คนทั่วไปนิยมเรียกเอกภพว่า จักรวาล โดยมีความหมายเท่ากับ เอกภพ แต่มีนัยถึงเอกภพที่เป็นระเบียบ มีความเป็นไปสอดคล้องราบรื่นและเป็นเอกภพเท่าที่เรารู้จัก
-
-
สูตร
-
รัศมีของเอกภพ
นักเอกภพวิทยาได้คำนวณโดยใช้ค่าละเอียดของค่าคงตัวของฮับเบิล พบว่าเอกภพมีอายุ 13,700 ล้านปี เราสามารถคำนวณหาขนาดของเอกภพได้จากการประมาณรัศมีของเอกภพ(R universe) ได้จากความสัมพันธ์ R universe = c.t universe เมื่อ c คือ อัตราเร็วของแสงจงหารัศมีของเอกภพในหน่วยปีแสง(ly)
-
-
กลุ่ม 7
บทที่ 2
-
ดาวฤกษ์
-
H 75% , He 25% , และแก็สอื่นๆ
-
เป็นแหล่งกำเนิดธาตุต่างๆ He , Li , Ba
ความต่าง สี , อุณหภูมิ , มวล , อายุ ,ความสว่าง , D
-
-
-
การบอกระยะทางของดาวฤกษ์
-
-
พาร์เซก
1 pc = 3.26 ly , 3.1 * 10^13 km
บทที่ 1
กำเนิดเอกภพ
-
10^-43 Sec - 10^-6 Sec
10^27 - 10^13 k
10^-43 - 10^-32 quark +- / antiquark +- , e- , โพซิตรอน , นิวทริโน , anti-นิวทริโน
-
-
-
-
-
ทฤษฏีสนับสนุน
-
Arno Allan Penzias , Robert Woodrow wilson
-
-
-
กลุ่ม 8
ทฤษฎีกำเนิดเอกภพ
-
ทฤษฎีบิกแบง (Big Bang) คือ ทฤษฎีที่อธิบายถึงการระเบิดครั้งใหญ่ ที่ทำให้พลังงานส่วนหนึ่งเปลี่ยนเป็นเนื้อสาร มีวิวัฒนาการต่อเนื่องจนเกิดเป็นกาแล็กซี เนบิวลา ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ โลก ดวงจันทร์
-
Galaxy
เป็นกลุ่มของดาวฤกษ์นับล้านดวง กับสสารระหว่างดาวอันประกอบด้วยฝุ่น แก๊ส และสสารมืด รวมอยู่ด้วยกันด้วยแรงโน้มถ่วง
ประเภทของ Glaxy
ไร้รูปร่าง
-
Galaxy ทางช้างเผือก
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-