Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาหญิงตั้งครรภ์ เคสที่ 1: LMP 10เมษายน 2562 EDC 17มกราคม 2563 -…
กรณีศึกษาหญิงตั้งครรภ์ เคสที่ 1:
LMP 10เมษายน 2562
EDC 17มกราคม 2563
ข้อมูลผู้ป่วย
ตรวจร่างกาย
2 ตุลาคม 2562
ส่วนสูง 155 ซม. น้ำหนัก43 กก.
BMI 17.89 อยู๋ในเกณฑ์น้อยกว่าปกติ
น้ำหนักตั้งครรภ์ 49 กก.
-ความดันโลหิต 120/80 มม.ปรอท ไม่พบอาการผิดปกติใด ๆ --
-Conjunctive ไม่ซีด Selera ไม่เหลือง ฟันผุ 2 ซี่ ไม่มีเหงือกอักเสบ
-ต่อมไทรอยด์และต่อมน้ำเหลืองไม่โต
-ตรวจปัสสาวะพบ Albumin Trace Sugar negative
-ตรวจทางหน้าท้องได้มดลูกสูง 1/4 เหนือระดับสะดือ
-คลำได้หลังทารกอยู่ทางด้านขวาของมารดา
-ศรีษะเด็กยังไม่ลงสู่ช่องเชิงกราน
-ฟังเสียงหัวใจทารกได้ทางขวาลางใกล้สะดือของมารดา 122 ครั้ง / นาที สม่ำเสมอดี
ซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์
ปัจจุบัน
LMP 10เมษายน 2562
Quickening 11 สิงหาคม 2562: 17 weeks 4days
เคยได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยกครบเมื่อ G3
อดีต
G4 P1-1-1-2 last 6 ปี 8 เดือน
G2-อายุครรภ์ 2 เดือน แท้ง
G3 - อายุครรภ์คลอดก่อนกำหนด ทารกแข็งแรงสมบูรณ์
G1-คลอดครบกำหนด
การขับถ่าย
1.อุจจาระวันละ 3 ครั้ง รู้สึกท้องผูก ถ่ายลำบาก อุจจาระแข็ง
2.ถ่ายปัสสาวะ 6-7 ครั้ง/วัน กลางคืน 2-3 ครั้งหลังถ่ายปัสสาวะนอนไม่ค่อยหลับ
ไม่ดื่มสุราสูบบุหรี่
ข้อมูลทั่วไป
นางนารีรัตน์ ชัยรัตน์ อายุ 37 ปี นับถือศาสนาพุทธ
อาชีพ รับราชการครู รายได้ 31,120 บาท/เดือน
ที่อยู่ 1/1
ถ.บรมอาสน์ ต.ท่าอิฐ จ.อุตรดิตถ์
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
เคยได้รับการผ่าตัดไส้ติ่งเมื่อ
พ.ศ. 2545 ไม่เคยแพ้ยาหรือได้รับอุบัติเหตุใด ๆ
สถานภาพแต่งงาน
สามีชื่อ นายสุวัฒน์ ชัยรัตน์ อายุ 38 ปี
จบการศึกษาปริญตรีอาชีพรับราชการทหาร
รายได้ 35,000 บาท/เดือน
สามีสูบบุหรี 1 ซอง/วัน ดื่มสุราเป็นครั้งคราวเวลา
อายุครรภ์ปัจจุบัน 25 weeks ไตรมาสที่ 2
อาการไม่สุขสบายและกิจกรรมการพยาบาล
รู้สึกท้องผูกถ่ายลำบาก อุจาระค่อนข้างแข็ง
แนะนำให้คุณแม่รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง เช่น ผัก ผลไม้ นมที่มีใยอาหารหรือพรีไบโอติก ซึ่งจะมีจุลินทรีย์ชนิดดีต่อลำไส้ ช่วยปรับสมดุลของระบบทางเดินอาหาร
ลดปัญหาท้องผูก ระบบขับถ่ายทำงานได้ดี ย่อยง่าย
นอนไม่ค่อยหลับ หลังจากลุกไปปัสสาวะตอนกลางคืน
แนะนำท่านอนให้คุณแม่ที่เหมาะสมเพื่อให้สบายตัวเวลานอน คือ นอนตะแคงซ้ายไล่ติดซ้ายติดพื้น จะช่วยป้องกันไม่ให้มดลูกกดทับเส้นเลือดดำใหญ่ จะทำให้เลือดจากขาไหลย้อยกลับหัวใจได้ดีขึ้น ทำให้ไตขับของเสียได้ดี และควรหาหมอนใบเล็กๆ นุ่มๆ มารองท้อง เพื่อช่วยรับน้ำหนักท้องและไม่ให้ท้องโย้ลงต่ำไปมาก เพราะจะทำให้คุณแม่รู้สึกท้องตึง
ปัสสาวะบ่อย
แนะนำว่าเป็นอาการปกติของการตั้งครรภ์ซึ่งจะหายไปเองหลังคลอด แนะนำให้คุณแม่ออกกำลังกายสม่ำเสมอเพื่อให้กล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกราน ป้องกันภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
วัคซีน
วัคซีน Covid-19 (12week)จำนวน 2 เข็ม :
1.เข็มแรก(แอสตร้าเซนเนก้า) วันที่ 3 กรกฎาคม 2562
2.เข็มสอง(ไฟเซอร์/โมเดอร์นา) 3 สิงหาคม 2562
วัคซีนไข้หวัดใหญ่(18weeks) 1 เข็ม: 14 สิงหาคม 2562
วัคซีนบาดทะยัก+คอตีบ(22weeks) 1เข็ม : 11กันยายน 2562
Teratogenic effect
สารนิโคติน
สารนิโคติน ทำให้ทารกในครรภ์มีความเสี่ยงที่จะคลอดก่อนกำหนด และทารกตัวเล็กผิดปกติ เพราะสารเคมีในบุหรี่จะส่งผลให้การเจริญเติบโตของเด็กในครรภ์เป็นไปอย่างช้าลง อีกทั้งพัฒนาการของสมองและปอดอาจผิดปกติในระยะยาว เสี่ยงที่จะเป็นโรคปากแหว่งเพดานโหว่ตั้งแต่กำเนิดสูงกว่าเด็กทั่วไป
ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีตที่มีผลต่อครรภ์ปัจจุบัน
ครรภ์ที่ 2 เกิดการแท้ง มีตกเลือด และได้รับการขูดมดลูก
ครรภ์ที่ 3 ก็มีการคลอดก่อนกำหนด มีอาการตกเลือดและมีรกค้าง