Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา 3 หญิงตั้งครรภ์ LMP 20 มกราคม 2565 EDC 27 ตุลาคม 2565,…
กรณีศึกษา 3
หญิงตั้งครรภ์
LMP 20 มกราคม 2565
EDC 27 ตุลาคม 2565
ข้อมูลทั่วไป
อายุ 16 ปี
ระดับการศึกษา
มัธยมศึกษาปีที่ 3
อาชีพ ทำงานบ้าน
สถานภาพ
แยกทางกับสามี
อาศัยอยู่กับ บิดา มารดา
รายได้ของครอบครัว
10,000 บาท/เดือน
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
มารดาตั้งครรภ์แฝด
บิดาเป็น โรควัณโรครักษากินยามาได้ 3 เดือน
ที่อยู่ 2 หมู่ 2 ตำบลตามใจ อำเภอ เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
สิทธิการรักษา
ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (UC)
ฝากครรภ์ที่คลินิกฝากครรภ์
ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตามใจ
ประเมิน
สัญญาณชีพ
BP 140/90mmHg
P 110 bpm
T 37.1 °c
ซักประวัติ
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 46 kg
ปัจจุบัน 49 kg
ส่วนส 161 cm
BMI 17.76
ประวัติการเเพ้
แพ้อาหารทะเล มีผื่นคัน
คุมกำเนิดโดยใช้ยาคุมฉุกเฉิน มา 1 ปี
ทำแท้งโดยซื้อยามากินเอง
ไม่ได้ขูดมดลูก ปี 2563
ประวัควัคซีน
รับวัคซีนบาดทะยัก เมื่อ ป.6
รับวัคซีนป้องกันโควิดมา 2 เข็ม
การตรวจร่างกาย
conjunctiva ซีด
ตรวจเต้านม พบหัวนมสั้นเกรด 1 (0.2 cm) ทั้งสองข้าง
มีตกขาว
คันสีขาว ข้นเป็นตะกอนมา 1 สัปดาห์
ปลายเท้าบวม
ตรวจครรภ์
ฝากครรภ์วันที่ 18 กรกฎาคม 2565
ความสูงของมดลูก1/ 4 > สะดือ
วัดความยาวของมดลูกได้ 24 เซนติเมตร
ทารกท่า ROA FHS
118 ครั้งต่อนาที
ทารกดิ้นเมื่อเช้านี้ 2 ครั้ง
สุขภาพจิต
การประเมินความเครียด ST-5 ระดับคะแนนอยู่ที่ 8 คะแนน มีความเครียดระดับสูง
การประเมินโรคซึมเศร้า 2Q กรณีศึกษาตอบว่า มีไม่มี เเละมี คือ มีภาวะซึมเศร้า
การประเมิน EPDS ระดับคะเเนนอยู่ที่ 11 มีภาวะเสี่ยง
ต่อซึมเศร้า
Key information
เคยทำแท้งโดยซื้อยามากินเอง
ไม่ได้ขูดมดลูก
Gravida Para
G2 P0-0-1-0
Quickening
ครรภ์หลัง 16-18สัปดาห์
ขณะที่ชักประวัติ
มีอายุครรภ์6เดือน 1สัปดาห์ 1วัน หรือ 25 สัปดาห์ 1วัน
อยู่ไตรมาสที่ 2 (อยู่ระหว่าง 15-28 สัปดาห์)
อาการไม่สุขสบายเล็ก ๆ น้อย ๆ
มีอาการคันบริเวณช่องคลอด
เนื่องจากตกขาวเยอะ
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำให้ดูแลความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศให้สะอาดและแห้ง
2.ใช้น้ำและสบู่และทำความสะอาดหลังขับถ่ายหรือทำความสะอาดร่างกาย
3.ห้ามสวนล้างช่องคลอดหรือใช้นิ้วสอดเข้าไปทำความสะอาดอวัยวะภายใน
4.หลีกเลี่ยงการใส่ชุดชั้นในที่คับ (ควรใช้ผ้าฝ้าย)
5.ถ้ามีอาการคันหรือมีสิ่งผิดปกติที่แสดงว่าอาจติดเชื้อ ตกขาวมีสีและกลิ่นเปลี่ยนไป เช่น ตกขาวเป็นสีเหลืองปนเขียว มีลักษณะขุ่น ข้น เป็นก้อนคล้ายนมบูดและมีกลิ่นเหม็น ควรรีบไปพยแพทย์
อาการบวมที่ปลายเท้า
เนื่องจากตรวจร่างกายพบว่ามีอาการบวมที่ปลายเท้า
กิจกรรมกรรมการพยาบาล :
1.แนะนำให้คุณแม่ยกขาขึ้นบ่อย ๆ หรือยกเท้าให้สูงเพื่อลดอาการบวม
2.ลดอาหารเค็ม และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
3.นอนตะแคงข้างเพื่อลดการกดทับของเส้นเลือด
4.หลีกเลี่ยงการใส่ถุงเท้าหรือถุงน่องรัด ๆ ให้ใส่รองเท้าสบาย ๆ
ถ้ามีอาการบวมมากและอาการบวมไม่ลดลงควรไปพบแพทย์
ปวดขา
เนื่องจากน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
และเคยได้รับอุบัติที่ขาขวา
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำว่าไม่ควรยืนนานๆ ควรนั่งพักเป็นระยะ หากมีอาการปวดมากให้ลองบีบนวดขาเบาๆ
2.หากมีอาการปวดเท้า ให้ลองแช่เท้าให้น้ำอุ่นสัก 15-20 นาที จะทำให้ผ่อนคลายและลดอาการปวดได้
3.เวลานั่งหรือนอนให้ใช้หมอนรองไว้ใต้ขา ยกขาสูง เพื่อช่วยในการไหลเวียนของเลือด
4.ไม่แนะนำให้นวดกดจุดที่เท้าเพราะเป็นจุดรวมเส้นประสาท หากนวดไม่ถูกวิธีอาจส่งผลต่อครรภ์ได้
อาการคันเเละผื่นเเดง
เนื่องจากมีอาการแพ้อาหารทะเล
ทำให้มีอาการคันและผื่นแดง
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำให้คุณแม่ดื่มน้ำสะอาดให้มาก ๆ
2.ดูแลตนเองในเรื่องการทำความสะอาดร่างกาย โดยใช้แชมพูอาบน้ำแทนสบู่ที่ทำให้ผิวแห้ง
3.ใช้ครีมบำรุงผิวที่มีส่วนผสมของวิตามินอี หรือเบบี้โลชั่นที่เย็น ๆ
4.สวมใส่เสื้อผ้าที่ทำจากคอตตอน
5.ไม่ควรเกาบริเวณที่คัน เพราะจะทำให้ผิวหนังถลอกและอักเสบ
6หากรู้สึกว่าเป็นมากจนผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทย์
ภาวะทุพโภชนาการ
เนื่องจาก ภาวะทุพโภชนาการ ดูจาก BMI น้อยกว่าปกติ อาจเกิดการขาดสารอาหารส่งผลต่อเด็กในครรภ์ได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.รับประทานให้ครบ 5 ที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายทุกวัน และงดอาหารหมักดอง
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม ประเภทแอลกอฮอล์ ยาดอง เหล้า ทุกชนิด เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น
งดอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัดเปรี้ยวจัด เผ็ดจัด
ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอ
พักผ่อนให้เพียงพอ ไม่ทำงานหนักเกินไป
ออกกำลังกายพอประมาณ
กินยาบำรุงตามแพทย์สั่ง สำหรับยาอื่นๆควรปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง
เมื่อมีอาการผิดปกติ ควรปรึกษาแพทย์ทันที
9.งดการสูบบุหรี่
อาการซีด
เนื่องจาก เหตุผลที่สนับสนุนคือมี conjunctiva ซีด
และผู้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนจะได้รับธาตุเหล็กอยู่แล้ว
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำให้สตรีตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการเสริมธาตุเหล็ก 60 mg ทุกวัน ตลอดการตั้งครรภ์ ยกเว้น มีข้อห้ามในการให้ เช่น มีภาวะเหล็กเกินในร่างกาย (hemochromatosis)
2.ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กโดยให้ความรู้โภชนศึกษาแก่หญิงที่มารับบริการคลินิกฝากครรภ์
3.แนะนำให้เลือกรับประทานอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็ก วิตามิน และสารอาหาร เช่น เนื้อสัตว์ ตับหมู นม ไข่ เลือดหมู ธัญพืช
ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อวัน
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และอุดมไปด้วยโฟลิค และธาตุเหล็ก เช่น ปลา เนื้อแดงไร้ไขมัน ไข่ ถั่ว และผักใบเขียว
ควรหลีกเลี่ยง : ผักใบเขียวเข้มรสฝาดทั้งสมุนไพร ขี้เหล็ก ขมิ้นชัน กระถิน เป็นต้น รวมถึงต้องจำกัดปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ด้วย โดยผู้ชายควรดื่มไม่เกิน 2 แก้วส่วนผู้หญิงไม่ควรดื่มเกิน 1 แก้วต่อวัน
ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับวัคซีน
3 เข็ม
วัคซีนโควิด(ฉีดได้ตั้งแต่3เดือนขึ้นไป) 18 กรกฎาคม 2565
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (ฉีด 27-36 week) 17 สิงหาคม 2565
วัคซีนรวม (โคตีบ ไอกรน บาดทะยัก ฉีด 27-36week) 17 สิงหาคม 2565
teratogenic effect ต่อทารกในครรภ์
มารดาแพ้อาหารทะเล
ส่งผลให้ขาดไอโอดีน ไอโอดีนมีผลต่อพัฒนาการทางด้านสมองของทารก ถ้าขาดไอโอดีนรุนแรงอาจจะแท้งหรือ ลูกออกมาพิการได้
BMIต่ำ
การได้รับสารอาหารบางอย่างไม่เพียงพอ อาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์โดยมีผลต่อ ความต้องการทางต้านร่างกายของตนเองและพัฒนาการของทารกในครรภ์ ทั้งทางด้านร่างกายและสติปัญญา
Conjunctiva ซีด
สามารถถ่ายทอดความเสี่ยงไปยังทารกได้ เช่น ธาลัสซีเมีย ทารกน้ำหนักน้อยกว่าปกติ หรือทารก
โตช้าในครรภ์ เพิ่มอัตราการตายปริกำเนิด และ
การคลอดก่อนกำหนด มีเหล็กสะสมน้อยกว่าปกติ หากไม่ได้รับธาตุเหล็กเสริมหลังคลอด
จะมีพัฒนาการและเจริญเติบโตของสมองที่
ช้ากว่าเด็กทั่วไป
การรับประทานยาคุมฉุกเฉินเป็นประจำ
มีผลต่อการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
จะพบอาการข้างเคียงสูง รวมทั้งมีผลต่อการตั้งครรภ์ในครั้งถัดไป มีความเสี่ยงในการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกเพิ่มขึ้น
สำหรับผู้ที่ซื้อยามารับประทานเอง เสี่ยงได้รับยาปลอม ไม่ได้รับคำปรึกษาการใช้ยาและอาการข้างเคียงอย่างถูกต้อง อาจทำให้เกิดปัญหาแท้งบุตรไม่สมบูรณ์ ตกเลือด ติดเชื้อในกระแสเลือด และเสียชีวิตได้ ไม่ควรซื้อยายุติการตั้งครรภ์มากินเอง ควรปรึกษาแพทย์อย่างใกล้ชิด
ปัจจุบันมียากินที่สามารถทำให้แท้งบุตรได้ เป็นยาควบคุมแล้ว ทำให้มีการลักลอบขายกันราคาแพงมาก ชื่อว่าไซโตเท็ก การใช้ยาเพื่อยุติการตั้งครรภ์ก็อาจจะมีภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น แท้งไม่หมดและตามมาด้วยการติดเชื้อ แต่มันอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำมากๆ
หากตั้งครรภ์หลังจากเคยแท้งลูกมาก่อน
ควรให้ประวัติกับแพทย์ และควรฝากครรภ์กับแพทย์เสียแต่เนิ่นๆ หรือตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ เพื่อให้แพทย์ได้ดูแลครรภ์ของคุณแม่และลูกในครรภ์ และป้องกันการแท้งซ้ำ แนะนำให้ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด
ประวัติการตั้งครรภ์
กลุ่ม 8เลขที่ 71-80
กรณีศึกษา 3