Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diaphragmatic hernia ไส้เลื่อนกระบังลมแต่กำเนิด, 32BAC2BA-E673-40F2-B1FB…
Diaphragmatic hernia
ไส้เลื่อนกระบังลมแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
1.หายใจลำบาก (Dyspnea)
2.หายใจเร็ว (ในรายที่เป็นน้อย)
3.ตัเขียวคล้ำ (ในรายที่เป็นมาก)
4.ท้องแฟบ
5.หน้าอกโป่งกว่าปกติ
6.อาจได้เสียงเสียงลำไส้บริเวณทรวงอก
การรักษา
1.ระยะแรก รักษา Stabilize แบบประคับประคอง ดังนี้
ความเสถียรของการหายใจ
ระบบไหลเวียนเลือด
ความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย
2.ผ่าตัด (เมื่อ Stabilize ดีและคงที่แล้ว)
3.การผ่าตัดทารกที่มีภาวะไส้เลื่อนกระบังลมในครรภ์มารดา ช่วยให้ปอดมีการเจริญเติบโตได้ตามปกติ
พยาธิสภาพ
Diaphragmatic hernia เป็นโรคที่กิดจากความผิดปกติของการสร้างกะบังลมตั้งแต่กำเนิด ทำให้เกิดช่องว่างขึ้นและอวัยวะในช่องท้องเคลื่อนเข้าไปอยู่ในทรวงอก มักเกิดขึ้นตั้งแต่ทารกยังอยู่ในครรภ์มารดา ดังนั้นจึงเป็นสาเหตุที่ไปขัดขวางการเจริญเติบของปอดข้างนั้นทำให้เกิดภาวะ Lung hypoplasia และภาวะ Persistant fetal circulation
กระบังลมมีความผิดปกติ
อวัยวะในช่องท้องเคลื่อนเข้าไปในช่องอก
1.ทำให้เกิดภาวะลำไส้อุดตัน,ลำไส้เน่าตายในช่องอก
หายใจลำบาก
ทำให้ Cardiovascular collapse ได้
ทำให้ Ductus arteriosos เปิด (เหมือนตอนอยู่ในครรภ์)
BP. สูง เรียกว่า primary pulmonary hypertension
1 more item...
2.ไม่เกิดภาวะลำไส้อุดตัน,ลำไส้เน้าตายในช่องอก
การตรวจวินิจฉัย
Chest X-ray ส่วนบน
ส่องกล้องกระเพาะอาหาร
ตรวจวัดการเคลื่อนไหวของหลอดอาหาร
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
5.บิดามารดาพร่องความรู้เกี่ยวกับโรคและวิธีการดูแลรักษาผู้ป่วย
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้ความเข้าใจเรื่องความผิดปกติของทารกและการรักษา
อธิบายเกี่ยวกับโรค วิธีการรักษาแลพผลลัพธ์หลังการผ่าตัดให้บิดามารดาเข้าใจอย่างถูกต้อง
ให้บิดามารดาดูรูปผู้ป่วยที่เป็นเหมือนกันทั้งก่อนและหลังการผ่าตัดที่ประสบความสำเร็จ
แนะนำวิธีการดูแลทารกก่อนและหลังการผ่าตัด
2.เสี่ยงต่อภาวะตกเลือดเนื่องจากมีแผลผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะของบาดแผลและสัญญาณชีพหลังการผ่าตัดอย่างใกล้ชิด โดยวัด v/s ทุก 30 นาทีใน 1 ชม. แรก ทุก 30 นาทีในชั่วโมงที่ 2 และวัดทุก 1 ชม. 2 ครั้ง
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและ electrolyte ตามแพทย์สั่งอย่างครบถ้วน
สังเกแผลผ่าตัดว่ามี Dischage หรือเลือดซึมออกมาหรือไม่ เพื่อป้องกันการตกเลือด
บันทึก I/O เพื่อติดตามความสมดุลของน้ำเข้านำ้ออกจากร่างกาย
ติดตามผล electrolyte เพื่อเพื่อที่จะทำการดูแลและรักษาได้อย่างถูกต้อง
1.เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลเปิดบริเวณช่องท้อง
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะของผิวหนังบริเวณที่ทำการผ่าตัด
ดูแลและทำความสะอาดแผลทุกวัน โดยใช้หลักของ Aseptic technique เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของสิ่งแปลกปลอมของแผล
ดูแลให้ได้รับยา Antibiotic และสารน้ำอย่างครบถ้วน
อาจต้อง Restrain ทารก เพื่อป้องกันไม่ให้ทารกใช้มือไปจับบาดแผลและลดการติดเชื้อ โดยต้องแจ้งและขออนุญาตบิดามารดาทารกก่อนเสมอ
จำกัดคนเข้าเยี่ยม เพื่อลดโอกาสการติดเชื้อจากภายนอก
3.ปวดเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บจากการผ่าตัด
กิจกรรมทางการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพและประเมิน Pain score โดยใช้แบบประเมินของ Newborn &Infant Pain scale (NIPS)
ในกรณีที่ Pain score > 3 ดูแลให้ทารกได้รับยาบรรเทาปวดตามแผลการรักษาของแพทย์อย่างครบถ้วน
ทำหัตถการด้วยความนุ่มนวลเพื่อป้องกันการบาดเจ็บเพิ่ม
จัดท่าให้ทารกนอนในท่าสบาย ไม่กดทับแผลผ่าตัด
4.มีโอกาสเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากปอดมีการเจริญไม่เต็มที่
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจลำบาก หายใจเร็ว หอบเหนื่อย หายใจแบบ belly breathing
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชม. โดยเฉพาะ ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนอัตราการหายใจ และความดันโลหิต
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างระมัดระวัง เนื่องจากเด็กอาจมีภาวะ Ductus arteriosus
ติดตามผลเอกซเรย์เพื่อวางแผนการรักษา
อ้างอิง
ไพศาล เวชชพิพัฒน์, สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ.(มปป).
บทฟื้นฟูวิชาการ : Congeital Diaphragmatic Hernia.
สืบค้นจาก :
https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ThaiJSurg/article/download/250180/170034/
รพ.เพชรเวช.(2564).
รวมบทความสุขภาพ : ตรวจอาการไส้เลื่อนกระบังลมและการรักษา
.สืบค้นจาก : petcharavejhospital.com
นางสาวอำพร มหาชัย
รหัส 65019560