Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อัตลักษณ์ R :Resilient, ปัจจัยทางชีวภาพ
ปัจจัยทางจิตสังคม - Coggle…
อัตลักษณ์ R :Resilient
- การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจในผู้ป่วยซึมเศร้า
-
โรคซึมเศร้าเป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์ เช่น มีอารมณ์เศร้า
รู้สึกตนเองไร้ค่าขาดความสนใจในกิจกรรมที่เคยสนใจ พบได้บ่อยในทุกเพศทุกวัยสามารถรักษาให้หายได้ด้วยการบาบัดทางสังคม จิตใจหรือการใช้ยาต้านเศร้า
เป็นความสามารถในการเผชิญปัญหาและผ่านพ้นอุปสรรคไปได้จนทำให้บุคคลมี ความเข้มแข็ง ซึ่งแนวคิดของกรอตเบิร์ก (Grotberg) องค์ประกอบการสร้างความเข้มแข็งทางใจมี ความสัมพันธ์กันประกอบด้วยสิ่งที่ฉันเป็นสิ่งที่ฉันมีและสิ่งที่ฉันสามารถกระบวนการช่วยเหลือผู้ป่วย โรคซึมเศร้าด้วยความเข้มแข็งทางใจ
ดังนั้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจส่งผลให้ผู้ที่มีภาวะซึมเศร้ามีความมั่นคงทางอารมณ์ และจิตใจรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองทําให้มีความพร้อมอยู่ร่วมกับครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีความสุข
- ความเข้มแข็งทางใจของญาติผู้ดูแล : สิ่งสําคัญในการดูแลผู้สูงอายุ
ญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานเป็นบุคคลในครอบครัวที่มีบทบาทหลักในการดูแล ผู้สูงอายุโรคเบาหวานตามปัญหา และความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปตามความบกพร่องของร่างกาย สติปัญญา และสภาพอารมณ์ของผู้ป่วย ผลกระทบที่เกิดขึ้นล้วนแต่มีผลต่อความ เข้มแข็งทางใจของญาติผู้ดูแล บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนําเสนอการทบทวนวรรณกรรม เกี่ยวกับแนวคิด
องค์ประกอบของความเข้มแข็งทางใจ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเข้มแข็งทางใจวิธีการเสริมความเข้มแข็งทางใจ การประเมิน ความเข้มแข็งทางใจและประโยชน์ของ ความเข้มแข็งทางใจ
องค์ประกอบของความเข้มแข็ง ทางใจ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเข้มแข็ง ทางใจ วิธีการเสริมความเข้มแข็งทางใจ การประเมิน ความเข้มแข็งทางใจและประโยชน์ของ ความเข้มแข็งทางใจ
ดังนั้นการทําความเข้าใจเกี่ยวกับความเข้มแข็งทางใจ เป็นความรู้พื้นฐานในการประสานงานการดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน และญาติผู้ดูแลให้มีความพร้อมในการ ดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- กลยุทธ์การฟื้นฟูพลังสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ
พลังสุขภาพจิตเป็นคุณลักษณะและความสามารถที่มีอยู่ในตัวบุคคลช่วยให้บุคคลที่ ประสบปัญหาชีวิตเนื่องจากสาเหตุ ต่างๆ สามารถปรับตัวและฟื้นคืนสู่สภาวะสมดุลได้ ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มบุคคล ที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางสรีรภาพและจิตสังคมโดยธรรมชาติเมื่อผู้สูงอายุมีปัญหาโรคเรื้อรัง
การฟื้นฟูพลังสุขภาพจิตจะช่วยให้ ผู้สูงอายุสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของตนเองให้กลับคืนสู่สมดุลได้ผู้เขียนได้นําเสนอกลยุทธ์การฟื้นฟู
-
- การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจสําหรับพยาบาลวิชาชีพ
พยาบาลวิชาชีพเป็นบุคลากรทางสุขภาพที่สําคัญเพราะให้การดูแลใกล้ชิด และต่อเนื่อง กับผู้รับบริการ จากจํานวน ภาระงาน หน้าที่และความรับผิดชอบที่มาก ทําให้พยาบาลวิชาชีพมีโอกาสเสี่ยงสูง ต่อการเกิดความเครียด ภาวะหมดไฟ ความเหนื่อยล้าทางใจ และเกิดข้อผิดพลาดในการให้การพยาบาลมากขึ้น ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการให้การพยาบาล
ความปลอดภัยและคุณภาพชีวิตของผู้รับบริการ และพยาบาล
อาจเกิดความเจ็บป่วยทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ ทําให้เกิด
การย้ายงาน และลาออกจากงานได้ เพื่อ ป้องกันผลกระทบต่อตัวพยาบาล คุณภาพของการให้บริการ ภาวะสุขภาพของ ผู้รับบริการ
งบประมาณค่า รักษาพยาบาล รวมทั้งการขาดความสมดุลในระบบสุขภาพ
ดังนั้นการสร้างเสริมความเข้มแข็ง ทางจิตใจ สําหรับพยาบาลวิชาชีพจึงมีความสําคัญ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพและผู้นําหรือหัวหน้า พยาบาลเกิดความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญ เห็นประโยชน์ของการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านจิตใจ และแนวทาง
-
- ปัจจัยทางชีวภาพ
- ปัจจัยทางจิตสังคม