Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน, เครื่องมือในการวัด มีอยู่หลายประเภทด้วยกัน…
-
เครื่องมือในการวัด มีอยู่หลายประเภทด้วยกัน ขึ้นอยู่กับลักษณะของงาน เช่น ไม้บรรทัด ตลับเมตร สายวัด ไม้โพรแทรกเตอร์
-
การใช้งาน ใช้วัดความยาวและขีดเส้นให้ตรงในระยะสั้น ๆ มีหลายขนาดและทำจากวัสดุหลายประเภท เช่น พลาสติก ไม้ อะลูมิเนียม เหล็ก
การใช้งาน ใช้วัดความยาวหรือระยะทางได้จจนถึง 10 เมตร สายวัดทำจากแผ่นเหล็กบาง สามารถม้วนเก็บได้ ปลายสายมีขอเกี่ยวสำหรับเกี่ยวให้ติดกับวัตถุที่ต้องการวัด
ข้อควรระวังการม้วนสายเข้าเก็บในตลับ ควรใช้มือช่วยจับ เพื่อไม่ให้สายวัดหมุนเข้าตลับเร็วจนเกินไป เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ได้
-
การใช้งาน อ่านค่ามุมจากการวางไม้โพรแทรกเตอร์ทับมุมที่ต้องการวัด มีทั้งแบบครึ่งวงกลมและสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีหน่วยเป็นองศา
-
-
-
-
ข้อควรระวัง ใบมีดคัตเตอร์เป็นของมีคมควรใช้งานอย่างระมัดระวัง เมื่อใช้เสร็จควรเลื่อนใบมีดเข้าที่เก็บให้เรียบร้อย
การใช้งาน ใช้ตัดวัสดุให้เป็นเส้นตรง เส้นโค้งหรือเส้นหยัก กรรไกรมีหลายประเภท เช่น กรรไกรตัดกระดาษ กรรไกรตัดผ้า กรรไกรตัดโลหะ
ข้อควรระวัง ควรเลือกใช้กรรไกรให้เหมาะสมกับประเภทของวัสดุที่ต้องการตัด อีกทั้งกรรไกรเป็นของมีคม ควรใช้งานด้วยความระมัดระวังทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
-
-
-
-
-
-
-
-
ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้คีมตัดโลหะที่มีขนาดใหญ่หรือแข็งเกินไปเมื่อเลิกใช้งานควรหยอดน้ำมันและเก็บเข้าที่
-
วัสดุและเครื่องมือในการติดยึด มีหลายประเภท ขึ้นอยู่กับประเภทของวัสดุและลักษณะของงาน เช่น กาว ปืนกาว สกรู ไขควง
กาวมีหลายประเภท เช่นกาวลาเท็กซ์ กาวร้อน กาวยาง กาวแท่ง การใช้งานขึ้นอยู่กับวัสดุที่ต้องการให้ติดยึดเข้าด้วยกัน
การใช้งาน สำหรับยึดติดวัสดุประเภทไม้ กระดาษ ผ้า กาวชนิดนี้แห้งช้า เมื่อทาวัสดุแล้วควรทิ้งไว้ข้ามคืน เมื่อกาวแห้งแล้วจะยึดติดวัสดุได้แน่นมาก
-
-
-
ข้อควรระวัง ไม่ควรให้สัมผัสกับผิวหนัง หากสัมผัสผิวหนังให้ล้างออกโดยเร็วด้วยน้ำอุ่นหรือน้ำยาล้างเล็บซึ่งมีส่วนประกอบของอะซิโตน (acetone) เป็นตัวทำละลายที่ดี เมื่อใช้งานเสร็จควรปิดฝาเก็บให้มิดชิด
-
การใช้งาน ใช้ยึดติดวัสดุได้เกือบทุกประเภท เนื้อกาวมีลักษณะเป็นของเหลวมีทั้งที่เป็นสีเหลืองและสีใสเมื่อทากาวแล้วควรทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง เหมาะสำหรับงานเฟอร์นิเจอร์หรืองานซ่อมแซมต่างๆ
ข้อควรระวัง กาวชนิดนี้เมื่อโดนน้ำจะสูญเสียสมบ้ติการยึดติดของกาว จึงไม่เหมาะกับการยึดติดวัสดุที่ต้องใช้กลางแจ้งหรือที่ต้องสัมผัสกับน้ำ หลังใช้งานควรปิดฝาให้สนิทเนื่องจากกาวยางบางชนิดมีเบนซินหรือทินเนอร์เป็นตัวทำละลายที่ระเหยได้
-
การใช้งาน ใช้ยึดติดวัสดุประเภทกระดาษ เนื้อกาวมีลักษณะเหนียวเป็นก้อน จึงไม่ทำให้เลอะในการใช้งานและไม่ทำให้กระดาษย่น
-
-
ปีนกาวมีส่วนประกอบสำคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนที่มีลักษระคล้ายปืนมีสายไฟต่อกับปลั๊กไฟ ทำหน้าที่เป็นตัวให้ความร้อน และส่วนที่สองคือกาว มีลักษณะเป็นแท่งใสหรือขาวขุ่น เมื่อใส่แท่งกาวลงไปในตัวปืน ความร้อนจะทำให้แท่งกาวละลายเป็นเนื้อกาวที่มีความเหนี่ยว
-
-
-
มีลักษณะคล้ายตะปูแต่มีเกลียวโดยรอบ จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า ตะปูควง หรือตะปูเกลียวใช้ยึดวัตถุสองชิ้นเข้าด้วยกันโดยใช้เกลียวเป็นตัวหมุนเจาะเข้าไปในเนื้อวัสดุ สกรูมีหลายชนิดในที่นี้จะยกตัวอย่างการใช้งานทั่วไป 2 ชนิด ดังนี้
เป็นสกรูที่มีปลายแหลม ใช้ยึดชิ้นงานที่ต้องการแรงยึดตรึงสูงโดยส่วนเกลียวจะเข้าไปฝังในเนื้อวัสดุ สามารถทนแรงดึงได้ดี หัวสกรูมีหลายแบบ เช่น แบบหัวกลม แบบหัวเรียบ แบบหัวแฉก แบบหัวผ่า
-
-
-
เป็นสกรุที่มีปลายตัด ต้องใช้ร่วมกับนอตที่มีขนาดเกลียวที่เข้ากันได้ ใช้หลักการบีบอัดวัตถุ 2 ชิ้นเข้าด้วยกัน โดยการขันนอตให้แน่น หัวสกรูมีหลายแบบ เช่น สกรูหัวแฉก สกรูหัวผ่า สกรูแฉกเรียบ
การใช้งาน ใช้ยึดชิ้นงานที่เป็นโลหะเข้าด้วยกัน โดยต้องเจาะรูชิ้นงานขนาดพอดีกับสกรู แล้วจึงขันสกรูและน็อต สามารถถอดและยึดเพื่อประกอบชิ้นงานใหม่ได้
-
-
ใช้ขันหรือคลายสกรู ไขควงประกอบด้วยด้ามจับ ลำตัวหรือก้าน และปากไขควงโดยสามารถแยกประเภทของไขควงได้ 2 ประเภท คือ
-
-
-
มีลักษณะปากเป็นสี่แฉก ใช้ขันสกรุที่มีหัวสี่แฉก เวลาบิดจะต้องใช้แรงกดที่ด้ามมากกว่าไขควงปากแบน เพื่อไม่ให้เหลี่ยมของไขควงหลุดออกจากร่อง
-
-
-
-
-
-
ใช้ร่วมกับดอกสว่าน มีเฟืองเป็นเครื่องผ่อนแรงช่วยขับดอกส่วนให้หมุนเจาะรูปลายดอกสว่านจะเป็นตัวเจาะวัสดุและนำเศษวัสดุที่ถูกเจาะออกไปจากรู
-
-
ใช้งานร่วมกับดอกส่วน ใช้กำลังขับจากมอเตอร์ไฟฟ้า ส่วนไฟฟ้าเป้นที่นิยมใช้กันมาก เพราะใช้งานได้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา
-
-