Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastroesophageal Reflux Disease (GERD) ในเด็กทารกแรกเกิด, อ้างอิง …
Gastroesophageal Reflux Disease (GERD)
ในเด็กทารกแรกเกิด
พยาธิสภาพ
เด็กทารกที่อายุน้อยกว่า 2 เดือนจะเกิดการอาเจียนหรือขย้อนหลังดูดนมสักพักหรือขณะดูดนม และมักจะหายเองเมื่ออายุ 1 ปี
Sphincter ในเด็กทารกยังเจริญไม่เต็มที่
ทารกกินนมในท่านอนเป็นหลัก
แม่ไม่จับเรอ
GERD
เกิดการแหวะนม
หลอดอาหารเกิดการอักเสบ
ไม่อยากดูดนม
1 more item...
ปัจจัยการเกิด
1.หูรูดส่วนปลายต่อกับกระเพาะอาหารยังไม่สมบูรณ์
2.ทารกกินนมในท่านอนเป็นหลัก
อาการและอาการแสดง
1.อาเจียนหรือแหวะนม + ร้องไห้โยเยแล้วแอ่นตัวไปข้างหลัง
2.กระสับกระส่ายทุกครั้งหลังกินนม
3.น้ำหนักไม่ขึ้น
4.นอนไม่หลับ งอแง
5.กินได้น้อยลงหากมีหลอดอาหารอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อน
1.เลี้ยงไม่โต
2.มีเลือดออกตากกระเพาะอาหาร
3.กลืนลำบาก (Dysphagia)
การป้องกัน
1.อุ้มเรอหลังกินนมทุกครั้ง
2.ไม่ให้นอนรายทันทีหลังกินนม
3.รักษาด้วยยาลดกรดและยากระตุ้นการเคลื่อนไหวของกระเพาะ
ข้อวินิจฉันทางการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการขาดน้ำและสารอาหารเนื่องจากกินนมได้น้อย
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพและอาการขาดน้ำและกรดไหลย้อน เช่น การแหวะนม กระสับกระส่ายหลังกินนม น้ำหนักไม่ขึ้น เป็นต้อน
ติดตามค่า Sp.Gr.จากห้องปฏิบัติการ
ส่งเสริมให้ทารกได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและครบถ้วน โดยการให้ทารกดูดนมครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
แนะนำและสอนวิธีการจับทารกเรอหลังดูดนมทุกครั้งเพื่อลดการเกิดกรดไหลย้อน
ชั่งน้ำหนักทารกทุกวัน และชั่งในเวลาเดียวกันทุกวัน
2.ไม่สุขสบายเนื่องจากนอนไม่หลับ
การพยาบาล
ประเมินภาวะไม่สุขสบายของทารก เช่น งอแง กระสับกระส่าย แหวะนม ร้องไห้โยเย เป็นต้น
จับทารกเรอทุกครั้งหลังกินนม เพื่อระบายแก๊สที่อยู่ภายในท้อง
ให้ความรู้และแนะนำคุณแม่ให้จัดท่าศีรษะทารกสูง 30-45 องศา ขณะให้นม และจับเรอทุกครั้งหลังให้นม เพื่อป้องกันการไหลย้อนของนมและน้ำย่อย
3.มารดาขาดความรู้ในการให้นมบุตรเนื่องจากไม่มีประสบการณ์
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้ความเข้าใจของมารดาเกี่ยวกับความรู้และประสบการณ์ในการให้นมบุตร
อธิบายภาวะแทรกซ้อนจากการให้ลูกดูดนมในท่าที่ไม่ถูกต้องและการไม่จับลูกเรอหลังดูดนมเสร็จ
อธิบายและสอนแม่ใช้ท่าที่เหมาะสมและถูกต้องในการให้นมทารกและสอนท่าจับทารกเรอให้ถูกต้องโดยเน้นย้ำให้คุณแม่จับทารกเรอทุกครั้งหลังให้นม
ให้คุณแม่สาธิตย้อนกลับโดยการใหคุณแม่อธิบายที่เหมาะในการให้นม
เปิดโอกาสให้คุณแม่ได้พบปะกับคุณแม่รายอื่นที่มีปัญหาเดียวกัน เพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันได้
การวินิจฉัยโรค
การตรวจเอกซเรย์ระบบทางเดินอาหารด้วยการกลืนแป้งแบเรียม เพื่อหาสิ่งอุดตันในหลอดอาหาร กระเพาะและลำไส้
การตรวจวัดค่าความเป็นกรด impedance เพื่อวัดการไหลย้อนของกรดในกระเพาะอาหาร (ใช้เวลาในการวัดประมาณ 24 ชั่วโมง)
อ้างอิง
Bumrungrad International.(21/04/2563).
บทความสุขภาพ → GERD
พัชรินทร์ อมรวิภาส วันที่ 06 กรกฎาคม 2558 รพ. สืบค้นจาก :
https://www.samitivejhospitals.com/th/article/detail/gerd-children
กรดไหลย้อนในเด็ก
นางสาวอำพร มหาชัย
รหัส 65019560