Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ละครไทย, การแต่งกาย, การแสดง, ดนตรีประกอบ, เพลงร้อง, สถานที่แสดง, ๕. …
ละครไทย
ละครรำแบบดั้งเดิม
1.ละครชาตรี
การร่ายรำตามบทร้องที่มีเนื้อเรื่อง ระยะแรกเริ่มผู้แสดงเป็นชายล้วน มีตัวละครเพียง ๓ ตัว คือ นายโรง(พระเอก) นาง และตลก
-
-
3.ละครใน
เป็นละครที่แสดงในวัง ได้นำวิธีการเล่นเดินเรื่องอย่างละครนอก มาให้เหล่าระบำในพระราชฐานแสดง โดยนำบทที่เคยแสดงโขนคือเรื่องรามเกียรตื์ และอุณรุท มาแสดงโดยนางในราชสำนัก
-
ดนตรี
เพลงร้อง
-
ปรับปรุงให้มีทำนองและจังหวะนิ่มนวล สละสลวย ตัวละครไม่ร้องเอง มีต้นเสียงและลูกคู่ มักมีคำว่า “ใน” อยู่ท้ายเพลง
-
ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่
1.ละครดึกดำบรรพ์
เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ เจ้าพระยาเทเวศน์วงศ์วิวัฒน์ได้เดินทางไปยุโรปในปี พ.ศ. ๒๔๓๔ และมีโอกาสได้ชมโอเปร่า ซึ่งท่านชื่นชมในการแสดงมาก เมื่อกลับมาจึงคิดทำละครโอเปร่าให้เป็นแบบไทย
-
2.ละครพันทาง
มีลักษณะ ดังนี้
๑. ดำเนินเรื่องด้วยการร้อง บางครั้งมีต้นเสียง และลูกคู่ร้องทั้งหมดอย่างละครนอก บางครั้งต้นเสียงร้องบรรยาย ส่วนที่เป็นคำพูดตัวละครร้องเอง ความสำคัญอยู่ที่ถ้อยคำ ทั้งบทร้องและบทเจรจา
๒. นิยมเล่นเรื่องที่เกี่ยวกับต่างชาติ เช่น พระอภัยมณี ขุนช้างขุนแผน พระลอ ราชาธิราช ท่ารำ เพลงร้องเลงดนตรี จึงมีลีลาของต่างภาษาตามท้องเรื่อง
-
3.ละครเสภา
เสภามีกำเนิดมาจากการเล่านิทาน ผู้เล่าบางท่านจึงคิดแต่งเป็นกลอน ใส่ทำนอง มีเครื่องประกอบจังหวะ คือ “กรับ” จนกลายเป็นขับเสภาขึ้น
-
-
-
-
-
-
๕. การฟ้อนรำมีน้อย เพราะต้องการความรวดเร็ว จึงมีการรำใช้บทเป็นพื้น แต่ฉากสุดท้ายต้องสวยงามกว่าฉากอื่นๆ มักมีฟ้อนรำงามๆ แบบละครใน มีตัวละครมากๆ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-