Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดทฤษฎีการบริหารทางการพยาบาล, นักทฤษฎี, นักทฤษฎี, นักทฤษฎี, 5 ขั้น, 5…
แนวคิดทฤษฎีการบริหารทางการพยาบาล
การจัดการแบบคลาสสิค
(Classical approaches to management)
ทฤษฎีการบริหารตามวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)
ทฤษฎีเกิดในช่วงโรงงานอุตสาหกรรมมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและซับซ้อนขึ้น ใช้วิธีตั้งปัญหาเพื่อหาแนวทางไปสู่จุดหมายที่ต้องการ และทดลองอย่างมีขั้นตอน
Frederick Winslow Taylor
พัฒนาองค์กรให้ทันสมัยอยู่รอด โดยหลักการ 4 ข้อ 1.ทำงานเป็น step 2.คัดเลือกคนงานที่เป็นคนดีและเก่ง 3.คนงานได้รับการอบรมก่อน 4.ฝ่ายบริหารควบคุม,ร่วมมือกับพนักงาน
หัวใจสำคัญ = การกำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด (one best way)
อธิบายถึงหลักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ในการจัดการและพัฒนาคนงานให้ใช้ความสามารถในการทำงานได้อย่างสูงสุด เพื่อสร้างผลผลิตและความมั่งคั่งให้แก่องค์กร
Frank & Lillian Gilbreth
• เวลาและการเคลื่อนไหว (Time and Motion Study)
• กำหนดมาตรฐานงานและแผนการจ่ายค่าจ้าง
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร (Administrative Principles)
หลักการเกี่ยวกับการบริหารอย่างเป็นรูปธรรมบริหารจากมุมมองของผู้บริหาร ไม่ใช่ระบบปฏิบัติการ
Henri Fayol
POCCC : เน้นการบริหารจัดการรอบด้านและครอบคลุม ต้ังแต่การวางแผน, การปฎิบัติการ, การจัดโครงสร้างองค์กร การควบคุมการทำงานให้เป็นไปตามมาตรฐานท่ีวางไว้
หัวใจสำคัญที่หลักการบริหารจัดการของ Henri Fayol เน้นย้ำเรื่อง “ความเป็นเอกภาพ (Unity)” ตั้งแต่การมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน มีทิศทางเดียวกันไปจนถึงมีความสามัคคีกันมุ่งไปสู่ความสาเร็จ
ข้อดีของหลักการบริหารของ Henri Fayol = ใส่ใจรอบด้านให้ความสำคัญทุกรายละเอียดทั้งในเรื่องของทรัพยากรการผลิตทรัพยากรใน การประกอบธุรกิจไปจนถึงทรัพยากรมนุษย์
LUTHER GULICK
POSDCORB MODEL
การวางแผน (Planning) การวางแผนเป็นอันดับแรก
การจัดองค์การ (Organizing) กำหนดอำนาจหน้าที่ ลักษณะและวิธีการติดต่องาน ความสัมพันธ์ตามอำนาจ
การจัดบุคลากร (Staffing) หมายถึง การดำเนินงานเกี่ยวกับบุคคลในองค์กร
การอำนวยการ (Directing) หมายถึง การดูแลการปฏิบัติงานให้มี ประสิทธิภาพ
ภาวะผู้นำ (Leadership)
การวินิจฉัยสั่งการ (Decision making)
การนิเทศงาน (Supervise)
การควบคุมดูแล (Controlling)
การประสานงาน (Co-ordinating) โดยจัดวางระเบียบ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี เพื่อไม่ให้งานซ้ำซ้อน
การรายงาน (Reporting) การบันทึกรายงานผลการปฏิบัติงานว่าดำเนินไปแล้วมากน้อยเพียงใด มีอุปสรรคใดบ้างเพื่อจะได้หาแนวทางในการแก้ปัญหา
ทฤษฎีระบบราชการ (Bureaucratic Management)
แนวคิดเกี่ยวกับระบบโครงสร้างอำนาจหน้าที่ภายในองค์การ
Max Weber
ตั้งลักษณะระบบราชการไว้ 5 ข้อ
• มีสายการบังคับบัญชาลดหลั่นกันลงมา (Hierarchy of authority)
• มีระเบียบและกฎเกณฑ์อย่างเป็นทางการ
• ไม่มีความเป็นส่วนตัว
• การก้าวหน้าในอาชีพการงานยึดถือหลักคุณธรรม
• แบ่งงานกันทำอย่างชัดเจน
เน้นการมีเหตุผลเป็นสำคัญและในการใช้อำนาจทางสังคมทั้งแง่เศรษฐกิจและการเมือง
สนใจศึกษาและพยายามพัฒนาแนวความคิดเกี่ยวกับระบบโครงสร้างอำนาจหน้าที่ภายในองค์กร
การจัดการเชิงพฤติกรรม
(BEHAVIORAL APPROACHES TO MANAGEMENT)
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ
(ABRAHAM MASLOW’S NEED THEORY)
Physiological needs
อากาศ น้ำ อาหาร ที่อยู่ หลับนอน เครื่องนุ่งห่ม การสืบพันธุ์
Safety and security needs
ความมั่นคง การจ้างงาน ทรัพยากร สุขภาพ
Esteem needs
เคารพ/นับถืบตนเอง การับรู้ อิสระ
Self - actualization needs
ความปรารถนาที่จะเป็นจริงในตนเอง
Social needs
สังคม มิตรภาพ ครอบครัว ความผูกพัน
ทฤษฎี X และทฤษฎี Y
DOUGLAS MC GREGOR.
คนมี 2 ประเภท
Gen X
ทำงานล่วงเวลาเพื่อให้งานออกมาดี
ไม่เอาเวลาว่างกับเวลางานมาปนกัน
เพศชายได้เปรียบ
ให้ความสำคัญกับผลตอบแทน ทุ่มเททำงาน และความก้าวหน้า
Gen Y
ไม่ทำงานล่วงเวลาเพราะกินเวลาส่วนตัว
ต้องการเวลาว่างระหว่างการทำงานมากกว่า
ทุกเพศเท่าเทียมกัน
ให้ความสำคัญกับชีวิตส่วนตัว
WILLIAM G. QUCHI
Theory Z
• มุ่งแสวงหาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างกัน ภายใต้กรอบปรัชญาองค์การ
• ขาดความคุ้นเคยกัน เกิดช่องว่างของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพราะสภาพแวดล้อม
• มีจิตสานึกที่ดี มีความผูกพันทางใจ ความรัก ความสามัคคี ทำงานไม่บกพร่อง ไว้วางใจได้
การศึกษาการจัดการเชิงปริมาณ
(QUANTITATIVE APPROACHES TO MANAGEMENT)
วิทยาการจัดการหรือการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
(Management Science หรือ Operation Research)
การจัดการด้านการดำเนินงาน
(Operation Management)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(Management Information System)
แนวคิดเรื่องการจัดการสมัยใหม่
(MODERN APPROACHES TO MANAGEMENT)
การจัดการและการคิดอย่างเป็นระบบ
(System Thinking and Management)
System Theory เป็นแนวคิดการจัดการ ซึ่งมององค์การเป็นระบบตามหน้าที่ที่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม
ประกอบด้วย 4 ส่วน
ปัจจัยนำเข้า (Input)
กระบวนการแปรสภาพในการจัดการ (Transformation Process)
การป้อนกลับ (Feedback)
ผลผลิต (Product)
การจัดการเชิงสถานการณ์
(Contingency Management)
เป็นแนวคิดการบริหารจัดการที่ผู้บริหารปฏิบัติโดยขึ้นอยู่กับสถานการณ์ โดยมีกานผสมผสาน 4 แนวคิดเข้าด้วยกัน
บุคคลที่มีบทบาทสำคัญ คือ Fiedler, Woodward, Lawrence และ Lorsch ได้ทําการศึกษาในเรื่องนี้
การรื้อปรับระบบ (Reengineering)
การรื้อโครงสร้างระบบ ให้เป็นระบบใหม่ที่ดีกว่า
เน้นการรับฟัง (Listening) จูงใจ (Motivating) การให้คำแนะนำ (Coaching) ให้โอกาสผู้ใต้บังคับบัญชาคิดเอง (Self-thinking) ทำงานตามคำสั่งให้น้อยลง (Less commanded working)
แนวคิดของ Michael Hammer และ James Champy
องค์การเรียนรู้และการจัดการความรู้
(Learning Organization and Knowledge Management)
องค์การที่มีการริเริ่มสร้างสรรค์ได้มาซึ่ง ความรู้ ถ่ายทอดความรู้และปรับพฤติกรรมเพื่อตอบสนองต่อความรู้ใหม่
ปัจจัย 5 ประการ
การคิดอย่างเป็นระบบ (System thinking)
การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared vision)
มีความกระตือรือร้นที่จะทำตามตัวแบบในการแก้ปัญหา (Challenging of mental models)
เรียนรู้เป็นทีม (Team learning)
มีความเช่ียวชาญ (Personal mastery)
การจัดการบริหารที่เกิดขึ้นใหม่
(Emerging Approaches to Management)
ทฤษฎี 7’s
MC KENSY
ต้องการเสนอว่าประสิทธิภาพขององค์กรธุรกิจเกิดจากความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ 7 ประการ ของธุรกิจว่ามีลักษณะและมีสภาพอย่างไร
กลยุทธ์ (Strategy) การวางแผนเพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
โครงสร้าง (Structure)
ระบบ (System) หมายถึง กระบวนการและลำดับขั้นการปฎิบัติงานทุกอย่างที่เป็นระบบ
การจัดการบุคคลเข้าทำงาน (Staff)
ค่านิยมร่วม (Shared value) ระหว่างคนในองค์การ
รูปแบบ (Style) การจัดการที่มีรูปแบบวิธีที่เหมาะสมกับลักษณะองค์การ
ทักษะ (Skill)
ช่วยให้เกิดความสำเร็จในองค์กรสูง ให้เห็นถึงความสำคัญของคนอันเป็นปัจจัยพื้นฐานของการสร้างวัฒนธรรมองค์กร
ให้ความสำคัญกับคุณภาพ โดยมี SWOT เป็นเครื่องมือ
จุดแข็ง STRENGTH
จุดอ่อน WEAKNESS
ปัยจัยภายใน สามารถควบคุมได้
โอกาส OPPORTUNITY
อุปสรรค THREAT
ปัจจัยภายนอก ไม่สามารถควบคุมได้
C-PEST ใช้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร 5 ประเด็น
Customer : ลูกค้า
Political: สถานการณ์ทางการเมือง
Economic : สภาพเศรษฐกิจ
Social: สภาพสังคม
Technological: เทคโนโลยี
การจัดการคุณภาพโดยรวม
(Total Quality Management, TQM)
เป็นระบบการจัดการองค์กรทั้งหมดให้มีคุณภาพ
TQM มีหลักการสำคัญ 5 ข้อ
มุ่งเน้นลูกค้า / ผู้รับบริการ (Customer focus)
มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous improvement)
มีการวัดและประเมินผลอย่างแม่นยำ (Evaluation)
ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมทั้งองค์การ (Total involvement)
ปรับปรุงสิ่งต่างๆ ให้ดี (Process improvement)
TQM ในปัจจุบันถูกพัฒนาขึ้นในญี่ปุ่น โดย Edwards Deming จากสหรัฐอเมริกา ในปัจจุบันแพร่หลายไปท่ัวโลก
TQM ทำให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นผู้นาทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะเอาชนะสหรัฐอเมริกาได้หลังสงครามโลกครั้งท่ี 2
นักทฤษฎี
นักทฤษฎี
นักทฤษฎี
5 ขั้น
5 ขั้น
นักทฤษฎี
นักทฤษฎี
นักทฤษฎี
นักทฤษฎี
1856-1915
1868-1924
1878-1972
1864-1920
1841-1925
นักทฤษฎี
1892-1992
นางสาวศุภิสรา ธำรงค์เทพพิทักษ์ เลขที่ 121 ปี4B
(63101301122)