Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Norotizing fasciaitis Left foot - Coggle Diagram
Norotizing fasciaitis Left foot
กรณีศึกษา ผู้ป่ยชาย อายุ 61 ปี
มาด้วยอาการ 3 วันก่อนมาโรพยาบาล เท้าซ้ายบวม แดงและปวดมากขึ้นเเพทย์วินิจฉัยเป็น NF left foot
โรคประจำตัวเป็น เบาหวาน
สิ่งทราบเมื่อมาโรงพยาบาลครั้งนี้เเละนํ้าตาลเคยสูง
ถึง 375 mg%
เบาหวาน หมายถึง โรคของความผิดปกติของการ
เผาผลาญไขมัน โปรตีน เเละคาร์โบไฮเดรต ซึ่งบกพร่องจากการ หลั่ง insulin ทำให้ระดับนํ้าตาลในเลือดสูง
เเบ่งออกเป็น 4 ชนิด
1.โรคเบาหวาน ชนิดที่ 1 เกิดจากเซลล์ตับอ่อนถูกทำลายโดยภูมิคุ้มกันของร่างกาย มักพบในเด็ก
2.โรคเบาหวาน ชนิดที่2 เกิดจากการภาวะดื้ออินซูลินมักพบในผู้ใหญ่
กรณีศึกษา ผู้ป่วยเป็นชนิดที่2คือเกิดภาวะดื้ออินซูลิน
3.โรคเบาหวาน ชนิดที่3 ได้หลายสาเหตุ เช่น โรคตับอ่อน ยาวเตียรอยด์
4.โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
พยาธิสภาพ
เกิดการมี่ร่างกายมีการเปลี่ยนเเปลงในการเผาผลาญสารอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน เนื่องจากความไม่สมดุลของการใช้กับการสร้างอินซูลินร่างกาย
การควบคุมอัตราอินซูนลินจะมีปัจจัยอย่างน้อย 4 อย่าง
ภาวะติดเชื้อ
กรรมพันธุ์
กระบวนการเผาผลาญ
ไอสเลทบีต้าเซลล์สร้างอินซูลินไม่ได้
กลูโคสในกระเเสเลือดผ่านเข้าสู่เซลล์ได้ช้าในขณะเดียวกัน จะมีการสร้างกลูโคสจากไกลโคเจนที่ตับ และการดูดซึมเพิ่มจากอาหารที่รับประทานเข้าไป จึงทำให้เกิด
ภาวะนํ้าตาลในเลือดสูง
สาเหตุ
การตั้งครรภ์ เนื่องจากขณะตั้งครรภ์จะมีการสร้างฮอร์โมนจากรกซึ่งมีผลต่อต้านการทำงานของอินซูลิน
ความผิดปกติของตับอ่อน จากตับอ่อนจะทำหน้าที่ในการผลิตอินซูลิน หากตับอ่อนเสื่อมสภาพหรือผิดปกติก็ย่อมส่งผลต่อการเกิดเบาหวาน
พฤติกรรม
การรับประทานอาหาร ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกายส่วนใหญ่มี เเป้ง นํ้าตาล ไขมัน
การไม่ออกกำลังกายในชีวิตประจำวัน
การดื่มสุรา สูบบุหรี่
กรณีศึกษา สาเหตุมาจากพฤติกรรม
พันธุกรรม เป็นสาเหตุเเค่ส่วนหนึ่ง เช่น ผู้ที่สายญาติตรงก็ไม่จำเป็นต้องเป็นเบาหวานทุกคน
ปัจจัยเสี่ยง
มีความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/90 mmhg
ประวัติบุคคลในครอบครัว เป็นเบาหวาน
มีประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือมีลูกที่นํ้าหนักเเรกคลอดเกิน 4000 กรัม
อายุมากกว่า 45 ปี
ภาวะ metabolic syndrome หรือภาวะดื้ออินซูลิน
HDL ตํ่า
ความดันโลหิตสูง ไขมันเเละนํ้าตาลในเลือดสูง
นํ้าหนักตัวเกินมาตราฐาน
กรณีศึกษา ผู้ป่วยเกิดภาวะดื้ออินซูลินจากนํ้าตาลในเลือดสูง
อาการ
หิวบ่อย กินจุ
นํ้าหนักตัวลดโดยไม่ทราบสาเหตุ จากร่างกายไม่สามารถนำนํ้าตาลไปใช้เป็นพลังงานได้ ทำให้ร่างกายเหมือนอยู่ในสภาวะขาดอาหารเเละเริ่มดึงโปรตีนจากกล้ามเนื้อมา
ใช้เป็นพลังงานเเทน
ปัสสาวะบ่อย เกิดจากกลไกการทำงานของไตที่พยายามจะกรองเเยกสารอาหารที่มีประโยชน์(นํ้าตา)กลับคืนสู่ร่างกายและคัดกรองของเสียออกจากเลือดเเละขับออกจากร่างกาย โดยขับออกทางนํ้าปัสสาวะ
กระหายนํ้าบ่อยขึ้น ร่างกายต้องการนํ้าเพื่อไปทดเเทนนํ้าที่เสียไปจากการขับปัสสาวะ ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานรู้สึกคอเเห้งเเละกระหายนํ้ามากกว่าปกติ
ตาพร่าวมัว ระดับนํ้าตาลในร่างกายที่มากกว่าปกติเป็นสาเหตุทำให้ร่างกายขับนํ้าตาลออกมาทางเลนส์ตา เมื่อรับนํ้าที่ผ่านเข้าเลนส์ตาก็จะซับนํ้าไว้ให้ได้มากที่สุดจึงเกิดกรทำงานผิดปกติ เป็นสาเหตุของตาพร่ามัว มองภาพไม่ชัด
ผิวหนังมีปัญหาเกิดอุบัติเหตุก็จะเป็นเเผลเร็ว เเละหายช้า
กรณีศึกษา ผู้ป่วยเป็นแผลบริเวณเท้าซ้ายเเละไม่หาย เท้าบวม ปวดมากขึ้น
อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
การรักษา
ประเมิณการควบคุมระดับนํ้าตาลของผู้ป่วยผู้ป่วยที่คุมนํ้าตาลได้ดี ควรตรวจวัดระดับ HbA1C อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ส่วนผู้ป่วยที่ควบคุมนํ้าตาลไม่ได้ควร ตรวจปีละ 4 ครั้ง
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด รวมถึง ไขมัน ความดันโลหิต เเละนํ้าหนักตัว
ออกกำลังกาย ช่วยให้ผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ลดปัจจุยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหัวใจหลอดเลือด เป็นต้น
ใช้ยารักษา ฉีด insulin
ชนิดออกฤเร็ว (rapid acting insulin) เริ่มออกฤทธิ์ 5-10 ออกฤทธิ์สูงสุด1-2 hr นาน 3-4 hr
ชนิดออกฤทธิ์สั้น (Short acting human insulin ) ออกฤทธิ์ 30-45 นาที ออกฤทธิ์สูงสุด 2-3 hr นาน 4-8 hr
ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาล ได้รับการรักษาโดยเมื่อตรวจนํ้าตาลเเล้ว นํ้าตาลเกิน 80-200 mg% จะได้รับการฉีด RI(Regular insulin)
ชนิดออกฤทธิ์ปานกลาง (intermediate acting human insulin ) ออกฤทธิ์ 2-4 hr สูงสุด 4-8 hr นาน 10-16 hr
ชนิดออกฤทธิ์ยาว ออกฤทธิ์2 hr นาน 18-24 hr
หมายถึง โรคติดเชื้อเเบคทีเรีย เช่น เชื้อ E.coli ,
Grop A streptococcus เป็นต้น เเบคทีเรียกินเนื้อถึงเนื้อเยื่อหุ้มกล้ามเนื้อ ทำให้เกิดเนื้อตาย ส่วนใหญ่เมื่อเกิดบาดแผลและแล้วบาดแผลไปสัมผัสกับสิ่งเเวดล้อม
สาเหตุ
เกิดการจากติดเชื้อเเบคทีเรีย เช่น Group A streptococcus ,clostridium, E.coli
,Aeromonas Hydrophia
ปล่อยสารพิษทำลายเนื้อเยื่อผิวหนังเเละกล้ามเนื้อ
ส่งผลให้เนื้อเยื่อตายได้
เข้าสู่ร่างกายได้ทั้งผิวหนังหรือกระเเสเลือด ผ่านทางแผลที่ได้รับอุบัติเหตุ แผลห้ามล้มแผลถลอก เเมลงกัดต่อย
หรือเเผลผ่าตัด
กรณีศึกษา ผู้ป่วยได้รับอุบัติเหตุ หกล้ม เป็นเเผลที่เท้าซ้าย ปวดบวม ทำให้เชื้อเเบคทีเรียเข้าสู้ทางผิวหนังได้
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
โรคเบาหวาน ตับเเข็ง ไตวาย หรือโรคหลอดเลือดส่วนปลายตีบหรืออุดตัน
ผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด
กลุ่มเกษตรกรเเละชาวนาที่มักเกิดแผลในระหว่างทำงาน สัมผัสกับเชื้อโรค ดิน นํ้า โคลน เดินลุยหญ้า นาข้าว
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยส่วนมากจะมีประวัติการบาดเจ็บ ซึ่งเชื้อจะฝังตัวในเนื้อเยื่อชั้นลึกในตอนยังไม่พบความผิดปกติที่ผิวหนังต่อมาเชื้อจะค่อยๆกระจายไปตามขั้นเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังถ้าที่เเขน ขา เชื้อจะมีงพังผืดเเละลุกลามได้อย่างรวดเร็วโดยมีการติดเชื้อที่ต่อมนํ้าเหลืองเเละหลอดเลือดดำ จะเกิดอาการปวดบวม มากเเละเกิดการอุดตันเลือดที่ไปเลี้ยงจะขาดทำให้เกิดเนื้อตายได้ เเละการเสียชีวิตตามมา
อาการ
ระยะเเรกหลังติดเชื้อ ภายใน 1 วัน
ตึงบริณเวผิวหนัง
มีตุ่ม แดงเล็กๆ ถุงนํ้า จุดดำ
รู้สึกปวดแผลมากผิดปกติ
บริเวณที่ติดเชื้อมีการเปลี่ยนสี หรือมีของเหลวซึมออกมา
คล้ายเป็นไข้หวัดใหญ่ เช่น อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า มีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ
มีภาวะขาดนํ้า การะหายนํ้า ปัสสาวะน้อย
ติดเชื้อไปแล้ว 3-4 วัน
บริเวณติดเชื้อมีอาการบวม
มีผื่นสีม่วงขึ้น
มีตุ่มนํ้าสีเข้มส่งกลิ่นเหม็น
ผิวหนังเกิดการเปลี่ยนสี
กรณีศึกษา ผู้ป่วยติดเชื้อมานาเเละไม่ได้มารักษา ทำให้ผิวหนังบริเวณเท้าซ้าย บวม เปลี่ยนสี เป็นสีดำ
ติดชื้อ 4- 5 วัน
ผู้ป่วยอาจมีภาวะวิกฤติ
หมดสติ ความดันโลหิตตํ่า
Shock
การรักษา
ใช้ยา
สารภูมิคุ้มกันอิมมูโนโกลบูลินทางหลอดเลือดดำ
ใช้ยาชนิดร่วมกันทางหลอดเลือดดำ เช่นยา ปฎิชีวนะลดปวดตามการรักษา
การผ่าตัด
ตัดกำจัดเนื้อเยื่อที่เสียหายหรือตายออก เพื่อหยุดการกระจายของเชื้อเเบคทีเรีย
กรณีศึกษา ทำผ่าตัด BK-Amputation
Delirium ภาวะสับสน
หมายถึง กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของหน้าที่สมองหลายด้าน ทำให้มีความผิดปกติดลเกี่ยวกับระดับความรู้สึกตัว การรับรู้ผิดปกติเกี่ยวกับวัน เวลา สถานที่ เเละบุคคล ความผิดปกติของการหลับตื่น การเคลื่อนไหว อารมณ์
ปัจจัย
สูงอายุ ตามัว หูตึง
โรคประจำตัว ได้เเก่ หัวใจ ติดเชื้อ โรคสมอง โรคระบบทางเดินปัสสาวะ ทางเดินอาหาร ความผิดปกติของเมตาโบลิซึม เป็นต้น
การใช้ยาชนิด ระงับประสาท (sedative),ยานอนหลับ (Hypnotic),ยาแก้อักเสบ (NSAID), ยากันชัก (Anticonvulsants) เป็นต้น
ด้านจิตใจ เช่น การสูญเสียบุคคลที่รัก การสูญเสียร่างกาย ภาวะซึมเศร้า ภาวะเจ็บปวด มีภาวะเสริม คือทุพโภชนาการ การเปลี่ยนเเปลงสิ่งเเวดล้อม พักผ่อนไม่เพียงพอ ความผิดปกติของกรด-ด่าง ในร่างกาย
1 more item...
อาการ
Hyperalert คือ อาการเอะอะโวยวาย ก้าวร้าว ร้องเรียกหาคนหรือปืนลงจากเตียง เเละอาจมีอาการ หัวใจเต้นเร็ว
รูม่านตาขยาย
1 more item...
Hypoalert คือ ระดับความรู้สึกตัวลดลง มีอาการง่วงซึม หลับ ไม่ค่อยเรียกร้อง เเต่อ่อนเพลียเหนื่อยล้า ซึมเศร้า
Mixed form คือ อาการ เปลี่ยนเเปลงไปมา ระหว่าง Hypoalert กับ Hyperalert
การรักษา
หมั่นติดตามอาการเเละอาการเเสดงของผู้ป่วย
ประเมิณสภาพร่างกาย โดยใช้ CAM ซึ่งใช้เกณฑ์ 4 ด้าน
1 more item...