Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการพยาบาลเด็ก - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการพยาบาลเด็ก
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
กลเม็ดเคล็ดลับการให้ยาเด็ก
•ไม่ควรบีบจมูกแล้วกรอกยาใส่ปากเด็กและไม่ควรป้อนยาให้เด็กขณะที่เด็กกำลังร้องหรือดิ้น
•หากยามีรสชาติไม่ดีหรือกลิ่นไม่น่าทาน ควรผสมน้ำเชื่อมเพื่อเพิ่มรสชาติที่ดี
• ต้องใจเย็นและมีความอดทนเพราะโดยธรรมชาติเด็กไม่ชอบกินยา
•ไม่ควรใส่ยาลงไปในขวดนมเพื่อให้เด็กได้รับยาจากการดูดนม
•ไม่ควรให้ยาพร้อมกับอาหารที่จำเป็นต่อเด็ก เพราะจะทำให้เด็กปฏิเสธอาหารเหล่านั้นๆ
•ใช้อุปกรณ์มาตรฐานในการตวงยาให้เด็ก คือ1ช้อนชา เท่ากับ5มิลลิลิตร
ข้อควรปฏิบัติเมื่อสงสัยว่าแพ้ยา
2.นำยาทุกชนิดที่รับประทานไปให้แพทย์หรือเภสัช เพื่อวินิจฉัยว่าท่านแพ้ยาอะไร
3.จดจำและบันทึกชื่อยาและลักษณะอาการที่เกิด
1.หยุดยาที่สงสัยทันที ถ้าใช้ยาอยู่หลายชนิดไม่ทราบว่าแพ้ยาตัวไหน ควรหยุดยาทุกชนิด
4.แจ้งให้แพทย์ทราบทุกครั้งเมื่อจำเป็นต้องใช้ยา
5.ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
ข้อควรระวังเมื่อใช้ยากับเด็ก
• ยาลดไข้ ที่นิยมให้เด็กกินก็คือ พาราเซตามอล (Paracetamol) โดยให้เด็กกินยาทุก 4-6 ชั่วโมงจนไข้ลด แต่ถ้าอาการไม่ดีขึ้นภายใน 2 วันหรือ
มีไข้สูงมาก ควรไปพบแพทย์
• กรณีจำเป็นเมื่อต้องใช้ยาลดไข้แอสไพริน หรือ ไอบูโปรเฟน ควรให้กินยาหลัง รับประทานประทานอาหารทันที เนื่องจากยานี้ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร
• ยาปฏิชีวนะนิยมทําเป็นรูปผงแห้ง ก่อนผสมน้ำควรเคาะขวดยาให้
ผงยากระจายตัวก่อนจึงผสมน้ำต้มสุกที่เย็นแล้วให้ได้ระดับที่กำหนด
• ยาแก้ไอ ไม่ควรนำยาแก้ไอของผู้ใหญมาให้เด็กกิน เพราะยาบางชนิดอาจจะผสมแอลกอฮอล์ หรือยาบางตัวอาจมีฤทธิ์กดศูนย์กลางการหายใจ
• ยาแก้ท้องเสียไม่ควรให้ยาที่มีความแรงมากในเด็กเล็ก
เพราะอาจไปกดการหายใจได้
กรอบแนวคิดในการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
2.ความเสี่ยง Risk
คํานึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก
3.ประสิทธิผล Efficacy
ยามีประโยชน์ต่อผู้ป่วยจริงๆ ผ่านการรับรองจาก อย. เท่านั้น
4.ค่าใช้จ่าย Cost
ใช้ยาอย่างพอเพียงและค้มค่า
1.ข้อบ่งชี้ indication
ไม่ควรใช้ยาโดยไม่จำเป็น
5.องค์ประกอบอื่น รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวังควรอ่านฉลากยาให้ถี่ถ้วนก่อนใช้ยาและสังเกต
วิธีให้ยา Method of administration ใช้ยาถูกวิธี
ความถี่ในการใช้ยา ใช้ยาในความเหมาะสม
ระยะเวลาในการให้ยา
Duration of treatment
ความสะดวก patient compliance
6.ขนาดยา Dose ใช้ยาถูกขนาด
นโยบายที่เกี่ยวข้องกับเด็ก
SDDs2 malnutrition
ภาวะทุพโภชนาการ
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เหมาะสมกับความต้องการของร่างกายทั้งในแง่ปริมาณและความครบถ้วน จึงทำให้ร่างกายเกิดภาวะผิดปกติขึ้น แบ่งออกเป็น
ภาวะโภชนาการต่ำ
ภาวะโภชนาการเกิน
สุขภาพเด็ก
ต้องปลูกฝังให้เด็กๆมีการเรียนรู้เรื่องการกินอย่างเหมาะสม หมั่นออกกำลังกายและเรียนรู้ที่จะจัดการอารมณ์ตนเอง
หลักของการมีสุขภาพดีสามารถแบ่งได้ 3 หลัก คือ
-ออกกำลังกาย
อารมณ์
อาหาร
ปฏิกิริยาของเด็ก และครอบครัวเมื่อเจ็บป่วย
Family-centered care คือการดูแลเด็ก โดยมีครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก โดยที่พยาบาลจะต้องจะต้องช่วยเหลือ สนับสนุน ส่งเสริมหรือเพิ่มศักยภาพ ครอบครัวให้มีศักยภาพในการทําหน้าที่ร่วม
กันในการดูแลผู้ป วยให้มีประสิทธิภาพ
มีการส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง
ครอบครัวกับบุคลากรทางการแพทย์
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง ระหว่างครอบครัว และบุคลากรทางการแพทย์
ให้ความเคารพในความแตกต่างของวิธีแก้ปัญหาของแต่ละครอบครัว
เคารพและยอมรับสิทธิ ศักดิ์ศรี และความเป็นมนุษย์ ให้ความยืดหยุ่นในการช่วยเหลือเนื่องจากครอบครัว
แนวคิดหลักของการดูแลผู้ป่วย
RESPECT AND DIGNITY
เคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
INFORMATION SHARING
ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ไม่มีการอคติ
PARTICIPATION
ครอบครัวได้รับกระตุ้นหรือเสริมแรงการดูแลเด็ก และร่วมตัดสินใจ
COLLABORATION
ครอบครัวและทีมสุขภาพให้ความร่วมมือกันในการวางแผนรักษา ระหว่างการรักษา และประเมินร่วมกัน
การพยาบาลเด็กในระยะวิกฤติและระยะสุดท้าย
Palliative care
ก็มีเป้าหมายเช่นเดียวกับ Hospice คือเป็นการดูแล ประคับประคองอาการ แต่จะต่างกันตรงที่ระยะเวลาในช่วงชีวิตที่เหลืออยู่ของผู้ป่วย กล่าวคือ Hospicecare ส่วนใหญ่จะทาในผู้ป่วยที่พยากรณ์โรคแล้วน่าจะมีชีวิตอยู่ได้ไม่เกิน 6 เดือน แต่สาหรับ Palliative care นั้นจะ เริ่มตั้งแต่ผู้ป่วยมีภาวะหรือโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ โดยไม่คานึงถึงว่าผู้ป่วยจะมีชีวิตเหลืออยู่อีก นานเท่าไร
ผู้ป่วยที่สมควรได้รับการดูแลแบบ Palliative care ได้แก่ผู้ป่วยต่อไปนี้
มะเร็งระยะสุดท้าย (Advance cancers)
โรคระยะสุดท้ายที่การพยากรณ์โรคไม่ดี (Advance diseases with poor prognosis) เช่น
2.1 โรคหัวใจล้มเหลวระยะสุดท้าย (End stage heart failure)
2.2 โรคปอดระยะสุดท้าย (End stage lung disease)
2.3 โรคไตวายระยะสุดท้าย (End stage renal failure)
2.4 โรคทางระบบประสาทระยะสุดท้าย (End stage neurological disease)
ผู้ป่วยสมองเสื่อมระยะสุดท้าย (Severe cortical dementia)
ผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี หรือโรคเอดส์ระยะสุดท้าย (Advance HIV/AIDS)
Hospice care
การให้การดูแลประคับประคองอาการในช่วงสุดท้ายของโรค ซึ่งรักษาไม่ได้ เพื่อให้ ผู้ป่วยมีความสุขสบายที่สุดเท่าที่จะทาได้ คานึงถึงคุณภาพชีวิตในชีวิตที่เหลืออยู่มากกว่า และจะมุ่งเน้นการ รักษาที่รักษาคุณภาพชีวิตเป็นหลัก ซึ่งจะไม่เร่งรัดหรือยืดความตายออกไปโดยคำนึงถึงระยะเวลาที่ยังคงเหลืออยู่ของผู้ป่วย
เป้าหมายการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การช่วยให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้อย่างสบาย ปราศจากความ
เจ็บปวดและความทุกข์ทรมานต่าง ๆ ทั้งทางร่างกายและจิตใจให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ สามารถทาให้ผู้ป่วย ปล่อยวางทุกสิ่งให้เป็นไปตามธรรมชาติ
สิทธิเด็กและกฎหมายที่เกี่ยวกับเด็ก
สิทธิมนุษยชน
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
สิทธิในการอยู่รอด
ได้รับการจดทะเบียนเกิด
มีชื่อ และได้สัญชาติ
ไม่ถูกแยกจากครอบครัว ได้รับการปกป้อง
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
คุ้มครองจากการได้รับความรุนแรงทั้งร่างกายและจิตใจ
การใช้แรงงานผิดกฎหมาย
คุ้มครองจากสารอันตราย และสารเสพติด
คุ้มครองจากการค้ามนุษย์ และล่วงละเมิดทางเพศ
สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เด็กพิเศมีโอกาสได้รับการศึกษา
สิทธิในการมีส่วนร่วม
แสดงความคิดเห็นอย่างเสรี
ความหมาย
บุคคลที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี
กฎหมาย
พ.บ.ร.คุ้มครองเด็ก 2546
พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบครัว
พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว
องค์กร
พมจ.
อกท
องค์กรยูนิเซฟ
CM
OSCC-ศูนย์พึ่งพาได้
ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300
การจัดการความเจ็บปวดในเด็ก
การประเมินความเจ็บปวด
ทารก
Neonatal infant paint scale ,NIPS SCALE
วัยเตาะแตะ
CHEOPS,Children hospitalof Eastern Ontario Pain Scale
วัยเรียนและวัยรุ่น
Self-report measures
แนวทางการพยาบาลเพื่อจัดการความปวดที่มีประสิทธิภาพในเด็กและวัยรุ่น
ยากลุ่ม Acetylsalicylic Acid-ASA หรือ Aspirin
ยากลุ่มนี้มีหน้าที่ยับยั้งการสร้างโพรสตาแกรนดิน มีฤทธิ์ลดไข้และต้านการอักเสบ
ฤทธิ์ข้างเคียง คือเลือดออกในกระเพาะ ลำไส้
ยากลุ่มต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์
ผลข้างเคียงหากใช้นานจะมีผลต่อไต เเละระคายเคืองทางเดินอาหาร
ยากลุ่มAcetaminophen/paracetamol
ผลข้างเคียงถ้าให้ยากลุ่มนี้มากจะมีฤทธิ์ต่อตับ
เช่นยา ไทลีนอล(Tylenol) พานาดอล(Panadol) ดาทริล(Datril)
ยากลุ่มเสพติด
Codeine,Meperidine,Morphine,Fentanyl
ฤทธิ์ข้างเคียง มีฤทธิ์กดการหายใจ คันที่ผิวหนัง ลดระดับความดันโลหิต คลื่นไส้ อาเจียน ระงับไอ ลดการทำงานของระบบทางเดินอาหารและท้องผูกหรือปัสสาวะคั่ง
ความสามารถในการบอกอาการของเเต่ละวัย
วัยเตอะเเตะ
เด็กสามารถบริเวณเจ็บปวดได้บ้าง
วัยทารก
กรีดเสียงร้องเมื่อเจ็บปวด
วัยเรียนและวัยรุ่น
สามารถเเยกออกระหว่างความเจ็บปวดทางร่างกายเเละจิตใจเด็กสามารถบอกอาการปวดได้
สถานการณ์เด็กในปัจจุบัน
ทั่วโลก
อัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดทั่วโลก
ลดลง43%จากปี2543
ภาวะแคระแกร็นของเด็กทั่วโลก
ในเด็กต่ำกว่า5ปี มีการลดลง จากปี 2000 เหลือ 22.3% ในปี2022
ภาวะน้ำเกิน เพิ่มขึ้น
ประเทศไทย
เด็ก ต่ำกว่า5ปี
สาเหตุการเสียชีวิต
ทารกแรกเกิด คลอดแล้วเสียชีวิต
การติดเชื้อ
ปอดบวมและท้องร่วง
ทารกแรกเกิด
คลอดก่อนกำหนด
ความผิดปกติแต่กำเนิด
เกิดภาวะขาดอากาศหายใจ
สาเหตุการเสียชีวิตของวัยรุ่น
อุบัติเหตุทางท้องถนน
การจมน้ำการจมน้ำ
การทำร้ายการทำร้ายตัวเอง
ความรุนแรงระหว่างบุคคล
มะเร็ง เม็ดเลือดขาว
สุขภาพและพัฒนาการ
เด็กได้รับวัคซีนครบถ้วน
ได้รับการฉีดวัคซีนโรคหัด