Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 นำเสนอองค์ความรู้สู่การแก้ปัญหา, 4เเนวคิดช่วยเเก้ปํญหาเเก้ปัญหาอย่า…
บทที่5 นำเสนอองค์ความรู้สู่การแก้ปัญหา
1 วิธีออกแบบเพื่อนำเสนอต้องทำอย่างไร
1.1 ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์ของการออกแบบนำเสนอ
การออกแบบนำเสนอ หมายถึง การคิดหาวิธีการเพื่อชี้แจงแสดงแนวคิดหรือข้อค้นพบ หรือ องค์ประกอบต่อผู้ฟัง ผู้อ่าน หรือผู็ชมเพื่อให้ทราบหรือดำเนินการอื่นๆ ตามที่ผู้ออกแบบนำเสนอได้กำหนดไว้ การออกแบบนำเสนอมีความสำคัญต่อการนำเสนอเป็นอย่างมาก การนำเสนอมีวัตถุประสงค์ ดังนี้
การต้อนรับ
การสรุป
การประชาสัมพันธ์
การส่งมอบ
การขาย
การแนะนำผลิตภัณฑ์
การเจรจาตกลง
การสอนงาน
การเจรจาต่อรอง
การรายงาน
การฝึกอบรม
ประโยชน์ของการออกแบบนำเสนอ คือ การได้วิธีการนำเสนอที่หลากหลาย สามารถเลือกให้เหมาะสมกับสิ่งที่จะนำเสนอหรือสถานการณ์ต่างๆได้
1.2 รูแบบและวิธีการนำเสนอ
รูปแบบในการนำเสนอจะนำไปสู่วิธีการนำเสนอ หากรูปแบบการนำเสนอหรือการพูด ก็ต้องใช้วิธีการพูดในการพูดในการนำเสนอ โดยทั่วไปแล้วรูปแบบการนำเสนอมี 2ลักษณะ ได้แก่ การนำเสนอ ด้วยการพูด และการนำเสนอด้วยสื่อต่างๆ
1 การนำเสนอด้วยการพูด
2 การนำเสนอด้วยสื่อต่างๆ
1.3เทคนิคการนำเสนอ การนำเสนอมีสิ่งที่จะต้องควบคุมหลายสิ่ง ทั้งพูด ผู้ฟัง และเรื่องที่พูด มีดังนี้
มีความเป็นมืออาชีพ
มีบุคลิกที่ดี
มีความยืดหยุ่น
2 แนวคิดสัมพันธ์กับการแก้ปัญหาพัฒนาสังคมอย่างไร ?
2.1 ความหมายและความสำคัญของแนวคิด แนวคิด หมายถึง ความคิดที่มีแนวทางปฏิบัติ โดยการเกิดขึ้นจากความรู้หรือข้อเท็จจริง ประกอบไปด้วย 5 ลักษณะ ดังนี้
รู้ว่าคืออะไร
รู้ว่าทำไปทำไม
รู้ว่าทำอย่างไร
รู้ว่าใครมีความรู้อะไร
2.2 ประโยชน์ของแนวคิด แนวคิดสามารถนำไปใช้โดยตรงหรือประยุกต์ใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดได้
2.3 ลักษณะของแนวคิด แนวคิดที่เกิดขึ้นมีหลายลักษณะ เช่น วิธีการ ขั้นตอน กระบวนการ รูปแบบ
3.การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบควรทำอย่างไร ปัญหาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตและไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
3.1 ปัญหาและประเภทของปัญหา
ปัญหา หมายถึง ความแตกต่างระหว่างสิ่งที่เป็นอยู่กับสิ่งที่ต้องการหรือมาตรฐานที่วางไว้
ปัญหามีหลายรุปแบบและลักษณะ โดยทั่วไปสามารถแบ่่งประเภทของปัญหาเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1 ปัญหาที่มีโครงสร้างสมบูรณ์
2 ปัญหาที่มีโครงสร้างที่ไม่สมบูรณ์
3.2 แการแก้ปัญหา การแก้ไขปัญหาหมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนที่ผ่านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
3.3แนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากความเชื่อที่ว่าปัญหาบางส่วนต้องการมุมมองที่แตกต่างจึงจะแก้ไขได้สำเร็จ
3.4 กระบวนการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบจำเป็นต้องาศัยกระบวนการต่างๆ มี8 ขั้นตอน ดังนี้
วิเคราะห์ปัญหา
2.ศึกษาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
3.เก็บรวบรวมข้อมูลให้มากที่สุด
4.หาทางแก้ปัยหาที่หลากหลาย
5.เลือกวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
6.วางแผนการใช้วิธีแก้ปัญหา
7.ดำเนินการแก้ปัญหา
8.ตรวจสอบปรับปรุงประเมินผล
4เเนวคิดช่วยเเก้ปํญหาเเก้ปัญหาอย่างไร
4.1 วิเคราะสภาพปํญหา
บุคคลที่จะแก้ปัญหาควรศึกษา แยกแยะ และจัดหมวดหมู่ปัญหาให้ชัดเจน ต้องสามารถระบุ ได้ว่า ปัญหาคืออะไร หรืออยู่ในส่วนใด เช่น ปัญหาเนื่องจากคุณสมบัติ ปัญหาเนื่องจากคุณลักษณะ ปัญหาจากวิธีการ ปัญหาจากการจัดการ ปัญหาจากขั้นตอนกระบวนการ ปัญหาจากระบบกฎเกณฑ์ ปัญหาจากสถานที่ ปัญหาจากระยะเวลา เป็นต้น
ข้อค้นพบจากการศึกษาค้นคว้าถือเป็นเเนวคิดที่ผ่านการคิดอย่างละเอียด
4.2พิจารณาวัตถุประสงค์การนำข้อค้นพบไปใช้
มีวัตถุปรพสงค์ที่เเกต่างกันไม่ว่าจะเป็นการให้ความรู้เพื่อให้เกิดเป็นเเนวคิด มี3ลักษณะ
เพื่อการป้องกัน
เพื่อการเเก้ไข
เพื่อการพัฒนา
เป๋นการเปลี่ยนเเปลงไปในทางที่ดีขึ้น
เป็นการดัดเเปลงส่วนที่เสียหายให้กลับสภาพสมบุรณ์
เป็นการทำงานใหเรอดพ้นจากเหตุการที่ไม่ต้องการพบเจอ
4.3ออกเเบบการนำองคืความรู้ไปใช้
ารนำองค์ความรู้ไปใช้มีหลายรูปแบบ ทั้งในรูปแบบของการทำโครงการ การประชุมสัมมนา การจัดกิจกรรม การอภิปราย การสาธิต และการทำเป็นนวัตกรรม ซึ่งจำเป็นต้องมีการออกแบบ เพื่อให้สามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม โดยสิ่งที่ควรตระหนักในการออกแบบ มีดังนี้
บุคคลที่มีส่วน เกี่ยวข้อง
เวลาและโอกาส
วัตถุประสงค์
สถานะและความ
งบประมาณ
สามารถของบุคคล
4.4จัดทำเเผนปฏิบัติการเเละลงมือปฏิบัติ
เมื่อผ่านการออกเเบบในการนำองคืประกอบความรู้ไปใช้จึงเข้าสู่การดำเนินการเป็นลำดับขั้นตอน
4.5ติดตามเเละประเมินผลการใช้องค์ความรู้เเก้ไขปํญหา
เมื่อได้นำองค์ความรู้ไปดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการแล้ว ต้องมีการติดตามและประเมินผล เพื่อให้ทราบว่า ผลจากการนำองค์ความรู้นั้นไปใช้เป็นอย่างไร ซึ่งมีหลายวิธี เช่น การสังเกต การสอบถาม การสัมภาษณ์ เป็นต้น