Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 2 ชายไทยอายุ 37ปี อาการศำคัญ ไอ หายใจหอบเป็นก่อนมาโรงพยาบาล…
กรณีศึกษาที่ 2 ชายไทยอายุ 37ปี อาการศำคัญ ไอ หายใจหอบเป็นก่อนมาโรงพยาบาล 4 ชั่วโมง ได้รับการวินิจฉัย เป็น Pulmonaly tuber acute respiratotory failure ผู้ป่วยวัณโรคปอด ที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านการหายใจ เมื่อหายใจ ไม่สามารถและเปลี่ยนก๊าซได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายทำไห้เกิดการลดลงของออกซิเจนในเลือดหรือมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดหรือหากทั้งสองแบบรวมกันได้โดยภาวะนี้อาจจะเกิดแบบฉับพลัน (acute เกิดในระยะเวลาที่รวดเร็ดเป็นชั่วโมงจนถึงเป็นวัน) และแบบเรื้อรัง(Chronicมักจะเกิดเป็นสัปดาห์เป็นเดือนหรือเป็นปี
โดยอาการที่ป่วยแสดง เช่น อาการที่เกิดจากโรคภาวะหายใจล้มเหลว ไข้ ไอ เหนื่อย จากโรคปอดบวมเป็นต้น จากการขาดออกซิเจน (Hypoximia)หรืออาจจากคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง(Hypercapnia)
-
-
-
-
ปัจจัยเสี่ยง
-
วามเสี่ยงของวัณโรค จะเพิ่มขึ้นหากเป็นผู้ที่พักอาศัย หรือเดินทางมาจากพื้นที่ที่มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวนมาก
เกิดจากการติดเชื้อ ไมโครเเบคทีเรียมทูเบอคูโลซิสที่สามารถแผ่กระจายได้ทางอากาศ โดยผ่านทางการไอ จาม การพูดและการหายใจ
-
การอภิปราย
กรณีศึกษาที่ 2 ไม่มีโรคประจำตัว ไม่ดื่มสุรา แต่มีพยาธิสภาพ ของโรคที่รุนแรงมากกว่าทำให้มีภาวะ Septic Shock และมีภาวะ Hyperkalemia ร่วมด้วย ดังนั้นต้องมีสมรรถนะในการประเมินผู้ป่วย ในภาวะวิกฤตอย่างมีประสิทธิภาพทันท่วงที และเป็นองค์รวม เพื่อให้การช่วยเหลือที่ทันท่วงทีตั้งแต่แรกรับ จนกระทั่งจำหน่าย รวมทั้งจะต้องมีการประสานทีมสหสาขาวิชาชีพ ในการดูแล ให้ครอบคลุม จนสามารถวางแผนจำหน่ายให้สอดคล้องกับปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว การประสารเพื่อส่งต่อข้อมูลในการดูแลต่อเนื่อง ติดตามการรักษา การมารับยาให้ครบตามแผนการรักษาจนหายปกติ
-
-
-